Page 85 - 22825_Fulltext
P. 85

2-45



                                   รายละเอียดของสมมติฐานและตัวชี้วัดด้านการสร้างความปรองดอง
                                    สมมติฐาน                                        ตัวชี้วัด

                   ไปที่แก้ไขของสิ่งที่สืบทอดจากคนรุ่นก่อนนี้
                   การปรองดองทางเชื้อชาติ: ความคืบหน้าสู่การ    การเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน, ความเต็มใจที่จะ
                   ปรองดอง ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากไม่มีโอกาสและ อดทนอดกลั้น, การเต็มใจที่จะยอมรับในชนชาติ, การ
                   เต็มใจที่จะมีส่วนร่วม การเชื่อมต่อที่มีความหมาย  มีโอกาสทางการมีส่วนร่วม และการเพิ่มโอกาสในการ

                   ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในแอฟริกาใต้              มีส่วนร่วม
                   การปรับปรุงความปรองดอง: ส าหรับการ           เป้าหมายความปรองดอง,  รับรู้การปรับปรุงความ
                   ปรองดองเพื่อความก้าวหน้าของแอฟริกาใต้        ปรองดอง
                   ความรู้สึกเชื่อมโยงกับแนวคิด (เช่นพวกเขาเข้าใจ

                   และแสดงความคิดเห็นของความปรองดองได้) และ
                   มีประสบการณ์ในชีวิตของพวกเขาเอง การ
                   ปรองดองเป็นแนวคิดที่ซับซ้อนที่มีความหมาย

                   แตกต่างกัน ตัวชี้วัดนี้พยายามตรวจสอบความ
                   คิดเห็นเชิงอัตวิสัยของผลกระทบที่เกิดขึ้น โดย
                   ผู้ตอบแบบสอบถาม และความคิดเห็นส่วนตัวของ
                   พวกเขา จากนั้นเพื่อวัดการรับรู้ของการปรับปรุง

                   ความปรองดอง
                   การรับรู้ของการเปลี่ยนแปลง: เพื่อความปรองดอง การเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรม, การเปลี่ยนแปลงทาง
                   เพื่อความก้าวหน้าเป็นสิ่งส าคัญ ให้ประชาชนรับรู้  จิตวิทยา คาดหวังในอนาคต

                   การเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในสังคมเกี่ยวกับอดีตและ
                   อนาคต
                   ที่มา: ปรับปรุงจาก Sa Reconciliation Barometer Survey 2562 Report (p.77), by E. Potgieter, 2562, Copyright 2562
                   by  Institute  for  Justice  and  Reconciliation,  Available  from  https:/ / worldjusticeproject. org/ sites/
                   default/files/documents/WJP-ROLI-2563-Online_0.pdf


                         6. ดัชนีความเจริญรุ่งเรือง (Prosperity Index)
                         สถาบัน  Legatum  Institute  (2021)  เป็นองค์กรการกุศลทางการศึกษาที่มุ่งเน้นส่งเสริมความ
                  เจริญรุ่งเรือง  (Prosperity)  ผ่านการด าเนินการศึกษาวิจัยเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือฟื้นฟูระบบทุนนิยม
                  และ     ประชาธิปไตย     ได้ก่อตั้งขึ้นในปี   พ.ศ.   2550   (ค.ศ.   2007)    ปัจจุบันมีนายอลัน

                  บารอนเนส ฟิลิปปา สเตราด์ (Alan McCormick) เป็นประธาน มีส านักงานย่อยตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศ
                  อังกฤษ และมีส านักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
                         ในด้านการด าเนินงานนั้น สถาบัน Legatum ได้รับทุนสนับสนุนจาก Legatum Limited

                  ผู้เป็นบริษัทแม่ในชื่อเดียวกันที่มีเป้าหมายมุ่งเน้นการลงทุนทางการศึกษาวิจัยใน 3 ด้านได้แก่ (1) ด้านการ
                  พัฒนา (Development) (2) ด้านความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) และ (3) ด้านนวัตกรรมทาง
                  นโยบาย (Policy Innovation) ทั้งนี้ การจัดท าดัชนีชี้วัดความเจริญรุ่งเรืองนี้เป็นส่วนหนึ่งของการลงทุน
                  ศึกษาวิจัยในแต่ละด้านที่กล่าวมา
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90