Page 97 - 22825_Fulltext
P. 97

2-57



                         4. ความรุนแรงที่ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือการละเลย/ทอดทิ้ง (deprivation or neglect) หมายถึง
                  การไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ และคุ้มครองอย่างเหมาะสมเพียงพอ รวมถึงการทอดทิ้งทางกาย ไม่เลี้ยงดู (ขจร
                  จิต บุนนาค. (ม.ป.ป.))

                         สรุปได้ว่าการก่อการร้าย หมายถึง การกระท าการใด ๆ หรือขู่เข็ญว่าจะกระท า โดยใช้ก าลังประทุษร้าย
                  หรือใช้วิธีอื่นใด เพื่อบังคับหรือข่มขู่รัฐบาลให้กระท าการใด ๆ หรือเพื่อให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว โดยมี
                  มูลเหตุจูงใจทางการเมือง ศาสนา อุดมการณ์หรือลัทธิความเชื่อของตน (อัศวิน ศุกระศร, 2549) ดังนั้น จากการ

                  วิเคราะห์แนวคิดมุมมองความรุนแรง หมายถึง การมองศักยภาพหรือความสามารถที่มีอยู่กับความจริงที่เกิดขึ้น
                  มีความแตกต่างกัน หากความจริงที่เกิดขึ้นของทั้งสองฝ่ายเป็นมายาสร้างขึ้นมาเพื่อแยกความเป็นพวกเรากับ
                  ผู้ อื่ น คิ ด จ ะ ใ ช้ ค ว า ม รุ น แ ร ง แ ก้ ปั ญ ห า ก ด ใ ห้ ผู้ อื่ น
                  อยู่ภายใต้อ านาจของพวกเรา พฤติกรรมและความคิดดังกล่าวจะน าไปสู่ความรุนแรงทั้งทางร่างกาย วาจา และ
                  จิตใจ เป็นผลให้เกิดความเสียหายทางทรัพย์สินและความเจริญ

                         ส าหรับมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ พบว่า ประชาชนมองสาเหตุความรุนแรง
                  ของการเมืองไทยเกิดจากการแย่งชิงอ านาจและผลประโยชน์ทางการเมือง รองลงมาเป็นอุดมการณ์/ความเชื่อที่
                  แตกต่างกัน ขณะเดียวกันก็มองว่ากระบวนการยุติธรรมไม่เป็นธรรม และการบริหารประเทศเป็นแบบรวมศูนย์

                  อ านาจ/ขาดการตรวจสอบ ทั้งนี้การรัฐประหารและการเลือกตั้งที่มีการคอร์รัปชันประชาชนระบุว่าเป็นหนึ่งใน
                  สาเหตุด้วยเช่นกัน ส านักงานสถิติแห่งชาติ (2563) สอดคล้องกับงานของ ธีร์ดนัย กัปโกและคณะ (2561)
                  พบว่าความรุนแรงทางการเมืองที่ผ่านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความรุนแรงทางการเมืองนั้นเกิดขึ้น
                  ตลอดเวลาในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น สงคราม การก่อกบฏ การก่อจลาจล การลอบสังหาร การปฏิวัติ การ

                  รัฐประหาร การก่อการร้าย หรือแม้กระทั่งการกดขี่ทางการเมืองที่เกิดกับเรา กล่าวได้ว่า ปัญหาความรุนแรง
                  ทางการเมืองกลายเป็นปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบันเรื่องความขัดแย้งทางการเมืองในกรณีของ
                  เสื้อเหลือง-เสื้อแดง ซึ่งมันมีรากฐาน สาเหตุที่สลับซับซ้อนและน ามาสู่ความรุนแรงทางการเมืองหลายครั้ง จน
                  ที่สุดกลายเป็นโศกนาฏกรรมกลางเมืองเมื่อผู้คนกว่า 90 คนต้องเสียชีวิต

                         จากปัญหาการมองความรุนแรงทางการเมืองระดับประเทศที่ผ่านมา  พบงาน
                  ในเชิงข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาความรุนแรงทางการเมืองของไทย ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุส าคัญของ
                  ความรุนแรง ความต้องการอ านาจและผลประโยชน์ วิธีการจัดการความรุนแรงจึงต้องมาจากการบูรณาการไป
                  พร้อมกับด้านพฤติกรรมในการจัดการความรุนแรง คือ การเอาชนะ ด้านความไว้วางใจในตัวบุคคลควรน าสันติวิธีเข้า

                  มาใช้ ยึดหลักนิติธรรม นิติรัฐ ความยุติธรรม รวมถึงคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ที่เกี่ยวข้องในทุก ฝ่าย และยัง
                  เสนออีกว่าการปฏิวัติจะหยุดได้ถ้ามีการปฏิรูปขนาดใหญ่ แต่ต้องเป็นการปฏิรูปอย่างแท้จริง เข้ากับรูปแบบการ
                  ปฏิวัติพลิกแผ่นดิน โดยไม่ต้องใช้ความรุนแรงแต่ใช้การกุมอ านาจรัฐและความมุ่งมั่นทางการเมืองด้วยการ
                  สนับสนุนจากประชาชน

                         สถานการณ์มุมมองความรุนแรงในชุมชนตามรายงานของสถาบันพระปกเกล้า และส านักงานสถิติ
                  แห่งชาติ (2562) พบว่า ประชาชนมีทัศนะคติต่อการมองชุมชนว่ามีการแบ่งขั้วแยกข้าง

                  จากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองเป็นส่วนน้อย และมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้นที่เคยมีประสบการณ์ย้ายที่อยู่/
                  ย้ายออกจากบ้าน เนื่องจากเกิดความไม่สงบของบ้านเมือง หรือเกิดความรุนแรงในชุมชน สะท้อนให้เห็นว่า

                  ปร ะช าช น ส่ ว น น้ อยมีมุมมอง คว า มรุ น แร งใน ชุ มช น ต่ อก าร แบ่ งขั้ว อ าน าจ ที่รั บ รู้ ไ ด้
                  จากความขัดแย้งทางการเมืองจริง สอดคล้องกับงานของณัฐกร วิทิตานนท์ (2559) ที่ให้เหตุผลว่าเมื่อ
                  เกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งที่อาจจะเป็นตัวแปรในการน าไปสู่ความรุนแรงขึ้นในชุมชน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102