Page 101 - 22825_Fulltext
P. 101

2-61



                  พัฒนาของมนุษย์ จากรายงาน ดัชนีภัยคุกคามทางนิเวศวิทยา 2564 (ECOLOGICAL THREAT REPORT
                  2564) โดย Institute for Economics and Peace – IEP) ซึ่งจัดอันดับภัยคุกคามทางนิเวศวิทยาของ

                  163 ประเทศและเขตแดนทั่วโลกในแต่ละปี  ถือเป็นอีกหนึ่งแหล่งข้อมูลที่ช่วยฉายภาพให้เราเข้าใจและ
                  เห็นประเด็นภัยคุกคามทางระบบนิเวศ  โดยการประเมินหรือวัดภัยคุกคาม  5  ประการ  ได้แก่

                  การเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว  ความเสี่ยงจากน้ า  ความเสี่ยงด้านอาหาร  ความผิดปกติของ
                  อุณหภูมิ  และภัยพิบัติทางธรรมชาติ  จากรายงานพบว่าหนึ่งในสี่ของประเทศใน  ETR  ถูกระบุว่าก าลัง
                  เผชิญอยู่ภัยคุกคามทางนิเวศสูงถึงขั้นรุนแรง โดยมีการวัดระดับคะแนน ETR อยู่ 5 ระดับ ประกอบด้วย

                  ระดับต่ ามาก (ETR =1) ระดับต่ า (ETR=2) ระดับปานกลาง (ETR = 3) (ETR = 4) และ (ETR =5) ดัชนีที่วัดผลกระทบ
                  ของภัยคุกคามทางนิเวศวิทยาต่อประเทศที่ประกอบด้วยตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5 ตัวแต่ละตัวมีน้ าหนักในระดับ 1-

                  5 ยิ่งคะแนนสูงเท่าไหร่ก็ยิ่งมีความเสี่ยงต่อประเทศมากขึ้นเท่านั้น  การประเมินเหล่านี้เพื่อก าหนดภัยคุกคามที่
                  ร้ายแรงที่สุดและความสามารถในการรับมือที่ต่ าที่สุด  การที่มีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่มีระดับที่สู่ย่อมผลกระทบกับ

                  เศรษฐกิจและสังคม  โดยประเทศที่ไม่มีระดับเศรษฐกิจและสังคมที่เพียงพอ  ควรหยืดหยุ่นในการปรับตัวหรือ
                  รับมือแรงกระแทกในอนาคตเหล่านี้ การค้นพบหลักจาก ETR ปี 2564 คือ วงจร ความสัมพันธ์ระหว่างความ

                  เสื่อมโทรมของระบบนิเวศและ ขัดแย้ง วงจรอุบาทว์ที่เสื่อมโทรมของทรัพยากรน าไปสู่ความขัดแย้ง และความ
                  รุนแรงที่ตามมา  IEP  คาดการณ์จ านวน  คนขาดสารอาหารเพิ่มขึ้น  343  ล้านคนโดย  รายงานภัยคุกคามทาง
                  นิเวศวิทยา พ.ศ. 2564 ในปี 2593 จะมีจ านวนประชาชนที่ขาดแคลนด้านอาหารถึง ถึง 1.1 พันล้าน ซึ่งเพิ่มขึ้น

                  ร้อยละ 45 ETR ปี 2564



                  ด้านที่ 1 ไม่มีความรุนแรงทางกายภาพ

                  1. การก่อการร้าย


                         2.5.1 ความหมายของการก่อการร้าย
                         การก่อการร้าย มาจากค าว่า Terrere ในภาษาละติน หมายถึง การท าให้ตื่นกลัว และ
                  เป็นค าที่เรียกเหตุการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1793 - 1794 ว่า
                  “ยุคแห่งความหวาดกลัว” เพราะเกิดจากการฆ่าบุคคลที่ไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ส าหรับ

                  การก่อการร้ายในประเทศไทยเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยา ตามเอกสารจดหมายเหตุวันวลิต มีความหมายโดยรวม
                  ตามพจนานุกรมว่า”ริเริ่มการไม่ดีหรือการที่เป็นอันตราย”
                         ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ให้ความหมายการ

                  ก่อการร้ายว่า การกระท าใด ๆ ที่สร้างความปั่นป่วนให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว หรือเพื่อขู่เข็ญหรือบีบ
                  บังคับรัฐบาล หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระท าหรือละเว้นการกระท าอย่างหนึ่งอย่างใด อันก่อให้เกิด
                  ความเสียหายต่อชีวิตหรือทรัพย์สินที่ส าคัญ
                         พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายการก่อการร้ายว่าเป็นฐานความผิด
                  อาญา ที่ผู้กระท าก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของ

                  รัฐหนึ่งรัฐใด หรือต่อบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจอย่างส าคัญ โดย
                  ผู้กระท ามุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระท า
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106