Page 103 - 22825_Fulltext
P. 103
2-63
ภาพลักษณ์ของมุสลิมจึงเกิดความตอกย้ าวว่าเป็นผู้ใช้ความรุนแรงในการตอบสนองปัญหาการเมืองและ
เกี่ยวข้องกับการก่อการร้ายโดยปริยาย น าไปสู่ภาวะหวาดกลัวอิสลาม
ด้านที่ 2 ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม
1. ความหมายของความปลอดภัย ความมั่นคงในสังคม และความหวาดกลัว
ความมั่นคงของมนุษย์ สหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) ได้ให้
ค านิยามไว้ว่า “เสรีภาพหรือการปลอดจากความกลัว” (freedom from fear) และ “เสรีภาพหรือการปลอด
จากความต้องการ” (freedom from want) ดังนั้นภายใต้กรอบแนวคิดนี้จึงครอบคลุมมิติการด ารงชีวิตบน
พื้นฐานของความปลอดภัยจากภัยคุกคามที่เรื้อรัง เช่น ความหิวโหย โรคติดต่อ และการถูกกดขี่ รวมทั้งมนุษย์
ควรได้รับการป้องกันจากเหตุการณ์รุนแรงต่าง ๆ อีกนัยหนึ่ง หมายถึง การที่ประชาชนสามารถแสดงออกได้
ตามทางเลือกของตนอย่างปลอดภัยและเป็นอิสระ ประชาชนควรจะมีศักยภาพและได้รับอ านาจมากพอที่จะ
ดูแลรับผิดชอบตัวเอง มีโอกาสที่จะแสวงหาความต้องการของตนเองและรายได้ที่เพียงพอในการด ารงชีวิต ซึ่ง
สอดคล้องกับความหมายตาม “ความมั่นคงของมนุษย์” ที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ร่วมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ค านิยามร่วมกันคือ การที่
ประชาชนได้รับหลักประกันด้านสิทธิความปลอดภัย การสนองตอบต่อความจ าเป็นขั้นพื้นฐาน ความสามารถใน
การด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตลอดจนได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการพัฒนาศักยภาพของ
ตนเอง (ขวัญฤทัย ด ารงค์วัฒนโภคิน, 2561) สอดรับกับค านิยามที่กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการ
ต่างประเทศ (2560) ได้กล่าวว่า ความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security) หมายถึงการที่ประชาชนได้รับ
หลักประกันด้านสิทธิความปลอดภัย การสนองตอบต่อความจ าเป็นขั้นพื้นฐาน โดยจะต้องปลอดจากความกลัว
ปลอดจากความขาดแคลน หรือความต้องการ และสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี
สังคมไทยได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมอย่าง
กว้างขวาง และผลกระทบมีระดับความรุนแรงมากขึ้น ตัวอย่างเช่น วิกฤติเศรษฐกิจ การเงิน ความขัดแย้งและ
เหตุจลาจลทางการเมือง ภัยพิบัติสึนามิ อุทกภัย และภัยแล้ง ภัยเหล่านี้มีแนวโน้มจะมีความถี่ จึงให้ความส าคัญ
กับแนวคิด “ความมั่นคงของมนุษย์” โดยยึดหลักพื้นฐานศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และได้มีการด าเนินงาน
ด้านสิทธิมนุษยชน การจัดบริการให้เกิดความเสมอภาค เป็นธรรมแก่ประชาชน การลดความเหลื่อมล้ าในสังคม
ดังนั้น ความปลอดภัยและความมั่นคง หมายถึง การกระท า การแสดงออก และการตอบสนองของ
บุคคลเพื่อให้ รอดพ้นจากอันตร าย การบาดเจ็บ การสูญเสียต่อร่างกายแล ะจิ ต ใจ
ซึ่งความรู้สึกปลอดภัยสามารถสะท้อนให้เห็นในรูปแบบของความรู้สึกของมนุษย์ที่แสดงผ่านทางบุคลิกภาพ
การกระท าและพฤติกรรมตามสภาพแวดล้อมได้อย่างมีศักดิ์ศรี (ศศิกาญจน์ ศรีโสภณ, 2558) สามารถอธิบาย
ความหมายองค์ประกอบของดัชนีความปลอดภัย ความมั่นคงในสังคม และความหวาดกลัว ประกอบด้วย
จ านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว จ านวนคดีเพศและท าร้ายร่างกาย จ านวนคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
อัตราการฆ่าตัวตาย จ านวนของการฆาตกรรม (ต่อแสนคน) จ านวนของประชากรในเรือนจ า (ต่อแสนคน) สัดส่วน
งบประมาณที่ใช้ในการพัฒนากับการจัดซื้ออาวุธ จ านวนเจ้าหน้าที่ต ารวจ (ต่อแสนคน) สัดส่วนงบประมาณที่ใช้
ในการพัฒนากับการจัดซื้ออาวุธและมุมมองต่อความรู้สึกปลอดภัย/ความหวาดกลัว
จ านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว หมายถึง อัตราการเกิดขึ้นของเหตุการณ์
ความรุนแรงเป็นการใช้ก าลังประทุษร้ายทางกาย ตามรายงานสรุปจ านวนครั้งของการเกิด
ความรุนแรงในครอบครัว จากกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ข อ ง ม นุ ษ ย์ โ ด ย Global status report on violence prevention 2557 นิ ย า ม
ความรุนแรง หมายถึง การใช้ก าลังหรืออ านาจโดยเจตนา ถูกคุกคาม หรือจริงกับตัวเองหรือต่อต้านกลุ่มหรือ