Page 107 - 22825_Fulltext
P. 107

2-67



                  และประชาชนเข้าถึงทรัพยากรอย่างเท่าเทียมอัตราการฆาตกรรมจะลดลง และหากรัฐเข้าควบคุมยาเสพติดให้
                  ลดน้อยลง เนื่องจากยาเสพติดท าให้ผู้เสพประสาทหลอน ควบคุมสติตนเองไม่ได้ อันเป็นสาเหตุของการขาด
                  ความยั้งคิดจนน าไปสู่การฆาตกรรมผู้อื่นด้วยเจตนาร้าย ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า ตลอดจนการไม่ระมัดระวังหรือ

                  ยับยั้งชั่งใจ นอกจากนี้สภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมก็ส่งผลต่อการฆาตกรรมด้วยเช่นกัน เห็นได้จาก
                  งานของพอล โบฮันแนน (Paul Bohannan) (n.d. อ้างถึงใน ศิริประภา รัตตัญญู, 2550) ที่พยายามท าความ
                  เข้าใจถึงสาเหตุหรือปัจจัยของการฆาตกรรม แล้วพบว่าเป็นความซับซ้อนที่ขึ้นอยู่กับความแตกต่างทาง

                  วัฒนธรรมของแต่ละสังคม ผ่านความสัมพันธ์ทางค่านิยมที่มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมในรูปแบบความ
                  ขัดแย้งหรือทะเลาะวิวาท เช่น ความขัดแย้งภายในครอบครัว หรือคู่สมรส ซึ่งสังเกตได้ว่าแม้มูลเหตุนั้นเล็กน้อย
                  ถึงขั้นปราศจากเหตุผลส าคัญในการก่อเหตุ แต่ส าหรับคนในสังคมที่ต่างออกไปกลับกลายเป็นสาเหตุส าคัญของ
                  การฆาตกรรม จึงอาจกล่าวได้ว่า สาเหตุของการฆาตกรรมเกิดจากสภาพแวดล้อมความแออัดในที่อยู่อาศัย
                  ความยากจน รวมถึงการขาดความระมัดระวังในการเดินทาง การป้องกันทรัพย์สิน และการติดยาเสพติด

                         จากปัญหาการฆาตกรรมข้างต้น ปราโมทย์ จันทร (2558) ได้เสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไข โดย
                  การจัดให้มีจุดตรวจ สายตรวจตามจุดเสี่ยง และให้ความรู้กับชุมชน อีกด้านหนึ่งควรเอาใจใส่บุตรหลานให้เป็น
                  คนดี ไม่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมในอนาคต โดยการแก้ปัญหาเน้นไปที่การให้ความรู้และการอบรมอาชีพ

                  เพื่อให้มีงานท า มีรายได้ จะได้ไม่กระท าความผิดซ้ า และควรมีการติดกล้องวงจรปิด มีเจ้าหน้าที่รักษาความ
                  ปลอดภัยตลอดจนการร่วมมือแจ้งข่าวเมื่อพบผู้ต้องสงสัยที่คิดว่ากระท าความผิดให้กับเจ้าหน้าที่ต ารวจได้ทราบ
                         จ านวนของประชากรในเรือนจ า (ต่อแสนคน) หมายถึง อัตราของประชากรในเรือนจ า
                  ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในเรือนจ าตามการรายงานที่สรุปโดยจ าแนกประเภทของกรมราชทัณฑ์ (กรมราชทัณฑ์,

                  2565) ประกอบไปด้วย 5 ประเภท คือ นักโทษเด็ดขาด ผู้ต้องขังระหว่าง (ชั้นสอบสวน ชั้นไต่สวน-พิจารณา
                  และชั้นอุทธรณ์-ฎีกา) เยาวชนที่ฝากขัง ผู้ถูกกักกัน และผู้ต้องกักขัง สอดคล้องกับค านิยามที่ก าหนดไว้ใน
                  พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ราชกิจจานุเบกษา, 2560) โดยค าว่า “เรือนจ า” หมายถึง ที่ซึ่งใช้ควบคุม ขัง หรือ
                  จ าคุกผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และให้หมายความรวมถึงที่อื่นใดซึ่งรัฐมนตรีได้ก าหนดและประกาศใน

                  ราชกิจจานุเบกษาวางอาณาเขตไว้โดยชัดเจนด้วย โดยค าว่า “ผู้ต้องขัง” หมายความรวมถึงนักโทษเด็ดขาด คน
                  ต้องขัง และคนฝาก ซึ่งค าว่านักโทษเด็ดขาด หมายความว่า เป็นบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจ าคุกภายหลังค า
                  พิพากษาถึงที่สุดและให้หมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามค าสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย ขณะที่
                  คนต้องขัง หมายถึง บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายขัง ส่วนคนฝาก หมายถึง บุคคลซึ่งถูกฝากให้ควบคุมไว้ตาม

                  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                         จ านวนเจ้าหน้าที่ต ารวจ (ต่อแสนคน) หมายถึง อัตราก าลังพลที่ประกอบอาชีพต ารวจ สังกัดส านักงาน
                  ต ารวจแห่งชาติ ตามข้อมูลการส ารวจภาวะการท างานของประชากร (Labour Force Survey) (2562) โดย
                  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2554) ให้ความหมายว่า ต ารวจ หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งต ารวจมี

                  หน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระท าผิดกฎหมาย โดยจ านวนก าลังพลเจ้าหน้าที่
                  ต ารวจสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท างาน ที่ Huse & Cummings (1985 อ้างถึงใน (ศิริพร
                  ลือวิภาสกุล และ ชวนชม ชินะตังกูร, 2553) ได้เสนอไว้ในองค์ประกอบด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม
                  สภาพแวดล้อมการท างานที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย การพัฒนาความสามารถของบุคคล ความก้าวหน้า

                  และความมั่นคงในงานการบูรณาการด้านสังคมด้วยการสร้างประชาธิปไตยในองค์การให้มีความสมดุล ระหว่าง
                  ชีวิตในงานและชีวิตส่วนตัว สอดรับกับแนวคิดของ Waltoon (1974 อ้างถึงใน ภณิตา กบรัตน์ (2556) ที่อาศัย
                  หลักการพิจารณาคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการท างาน โดยเน้นแนวคิดความเป็นมนุษย์

                  (Humanistic) จากสภาพแวดล้อมตัวบุคคลและสังคม ที่ส่งผลต่อการท างานให้ประสบความส าเร็จ ตอบสนอง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112