Page 105 - 22825_Fulltext
P. 105
2-65
2565 มาตรา 7 และ 8 (ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย หมวด 2 ความผิดต่อร่างกาย) (ลักษณะ
9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ) (สถาบันนิติธรรมาลัย, 2565)
จ านวนคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หมายถึง จ านวนสถิติของผู้ที่มีสารเสพติด เสพ
และจ าหน่ายสารเสพติดที่กฎหมายก าหนดห้ามไว้ในครอบครอง เป็นความผิดตามกฎหมายไทย โดยความผิด
ดังกล่าวถือเป็นความผิดตามกฎหมายอาญาและจะเป็นคดีให้ศาลอาญาพิจารณาต่อไป แต่นักโทษคดียาเสพติด
อาจได้รับการพิจารณาให้รับการรักษาในสถานบ าบัดแทนการติดคุก (ชนินาฏ แอนด์ ลีดส์, (ม.ป.ป.)) ตามที่
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ที่ใช้เป็นหลักอยู่ และได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาหลายครั้งจนกระทั่ง
ล่าสุดจึงมี พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 เพื่อปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติดให้
โทษ พ.ศ.2522 ให้เหมาะสมกับปัญหา โดยแก้ไขโทษในความผิดเกี่ยวกับการมีไว้ในครอบครอง มีไว้ใน
ครอบครองเพื่อจ าหน่าย และจ าหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษจ านวนเล็กน้อยให้มีโทษขั้นสูงลดลง เพื่อให้บุคคลซึ่ง
ต้องหาว่าเสพเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพตาม กฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ
2545 และเพิ่มมาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดให้โทษโดยให้มีการค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
การให้อ านาจสั่งตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลใดมียาเสพติดให้โทษอยู่ในร่างกายหรือไม่ ฯลฯ
โดยประเภทของยาเสพติด เฉพาะการแบ่งตามกฎหมาย ประการแรกคือ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้
โทษ พ.ศ.2522 ได้แบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษชนิด
ร้ายแรงมี 38 รายการ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน แมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า) เอ็กซ์ตาซี และแอลเอสดี
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป มี 102 รายการ เช่น ใบโคคา โคคาอีน โคเดอีน
ยาสกัดเข้มข้นของต้นฝิ่นแห้ง เมทาโดน มอร์ฟีน ฝิ่นยา (ฝิ่นที่ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่งเพื่อใช้ในทางยา) ฝิ่น (ฝิ่น
ดิบ ฝิ่นสุก มูลฝิ่น) ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นต้นต ารับยาและมียาเสพติดให้โทษประเภท 2
ผสมอยู่ คือ ยารักษาโรคที่มียาเสพติดประเภท 2 เป็นส่วนประกอบอยู่ในสูตร เช่น ยาแก้ไอ ยาแก้ท้องเสีย
ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2 มี 32 รายการ เช่น อาเซติคแอนไฮ
ไดรด์ อาเซติล คลอไรด์ ประเภทที่ 5 ยาเสพติดให้โทษที่ไม่เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึง 4 มี 4 รายการ คือ กัญชา
พืชกระท่อม พืชฝิ่น ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม และพืชเห็ดขี้ควาย ประการที่สอง
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ประกอบไปด้วย 1.ห้ามผู้ใด ผลิต ขาย น าเข้า
หรือส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 1 และ 2 นอกจากกระทรวงสาธารณสุข หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 2 ขายได้โดยแพทย์ สัตวแพทย์ ทันตแพทย์ เฉพาะผู้ป่วยของ
ตน หรือกระท าโดยกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องค์การเภสัช หรือสถานที่ที่ราชการก าหนด โทษ
จ าคุก 5-20 ปี และปรับ 100,000-400,000 บาท 2.ห้ามผู้ใดผลิต ขาย น าเข้าหรือส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิต
ประสาทประเภทที่ 3 และ 4 เว้นแต่ได้ขออนุญาตแล้วตามกฎหมายซึ่งต้องมีเภสัชกรเป็นผู้รับผิดชอบควบคุม
โทษจ าคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท 3.ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 1
ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 2 เว้นแต่สั่งโดยแพทย์, ทันตแพทย์ผู้ให้การรักษา ห้ามผู้ใด
ครอบครองหรือใช้ประโยชน์วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภทที่ 1-2 โดยมิได้รับอนุญาต โทษจ าคุก 1-5 ปี
และปรับ 20,000-100,000 บาท 4. ห้ามผู้ใดจูงใจ ชักน า ยุยงส่งเสริมหรือใช้อุบายล่อลวงขู่เข็ญให้ผู้อื่นเสพวัตถุ
ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท โทษจ าคุก 2-10 ปี และปรับ 40,000-100,000 บาท และถ้ากระท าต่อหญิงหรือบุคคล
ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือจูงใจเพื่อให้ผู้อื่นกระท าความผิดอาญา หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในการ
กระท าผิดอาญา โทษจะเพิ่มขึ้นเป็นจ าคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 60,000-500,000 บาท ประการที่สาม
พระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย ปี พ.ศ. 2533 ประกอบไปด้วย 1. ขายสารระเหยแก่ผู้มีอายุไม่เกิน
17 ปี (โดยไม่ใช่น าไปใช้เพื่อการศึกษา) จ าคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ 2.