Page 131 - 22825_Fulltext
P. 131

2-91



                         ส านักงานหลักประกันสุขภาพ ให้ความหมายว่า การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพ เป็นการเข้าถึงการ
                  บริการด้านสุขภาพของรัฐที่ให้ความเป็นธรรมกับประชาชนทุกส่วนทุกคนในสังคมควรได้รับการประกันสุขภาพ

                  อย่างเท่าเทียมกับหลักการศึกษาที่วา บริการที่จ าเป็นด้านสุขภาพเป็นของทุกคน ซึ่งนายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์
                  พงศ์ คือ ผู้ที่มีส่วนส าคัญอย่างยิ่งผู้หนึ่งในการริเริ่มผลักดันเรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย

                  โดยผ่านการเรียนรู้ ทดลองปฎิบัติและต่อสู้กับอุปสรรค จนสามารถผลักดันเป็นนโยบายที่ส าคัญของประเทศ
                  และใช้จริงมาจนถึงปัจจุบัน (ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ)


                         เนื่องจากรัฐบาลมีการบริการด้านสุขภาพให้ความเป็นธรรมกับประชาชนทุกส่วน คนไทยเข้าถึงด้าน
                  สาธารณสุขทางการแพทย์เพิ่มขึ้นทุกปีการเข้าถึงสาธารณสุขทางการแพทย์นี้วัดได้จากการมีแพทย์ผู้รักษา และ
                  พยาบาลที่ให้ความช่วยเหลือด้านสุขภาพที่มากขึ้น จะได้เห็นถึงความเหมาะสมจ านวนแพทย์และพยาบาลต่อ

                  การดูแลคนไข้ จ านวนสัดส่วนแพทย์พยาบาลต่อประชาชน หมายถึง จ านวนบุคลากรด้านสุขภาพเพียงพอต่อ
                  การดูแลประชาชน ในระดับสากลองค์การอนามัยโลก (WHO) ก าหนดจ านวน “แพทย์และพยาบาล” ต่อ

                  ประชากรไว้ที่ 2.28 คนต่อประชากร 1,000 คน หากประเทศใดน้อยกว่าอัตราส่วนนี้ ถือว่าขาดแคลน

                       ในความหมายในราชบัณฑิตยสถานค าว่า สาธารณูโภค หมายถึงบริการสาธารณะที่จัดท าเพื่ออ านวย
                  ประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จ าเป็นต่อการด าเนินชีวิตเช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจ า

                  ทาง โทรศัพท์
                       จ านวนเด็กหลุดอออกจากระบบการศึกษา หมายถึง นักเรียนที่ไม่สามารถเข้าสู่ในระบบการศึกษาขั้น
                  พื้นฐาน โดยการศึกษาขั้นพื้นฐานหมายถึง การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ
                  ก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา)

                       การเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา หมายถึง อัตราการศึกษาต่อหลังระดับประถมศึกษาซึ่งแบ่งออกเป็น 2
                  ช่วงตอน คือ มัธยมศึกษาตอนต้น ที่จัดท าโดยกรมศิลปากรเทียบเท่าชั้น ม. 3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็น
                  2 ประเภท คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญ คือ ชั้น ม.4 ถึง ม. 6 และประเภทอาชีวศึกษา คือ

                  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรนาฎศิลป์ชั้นกลาง หลักสูตรประกาศนียบัตร
                  ศิลปชั้นกลาง (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา)
                       ความเหลื่อมล้ าด้านรายได้ หมายถึง ความเหลื่อมล้ าด้านเศรษฐกิจ โดยดูค่าจากค่าสัมประสิทธิ์
                  ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายได้ นิยมน ามาใช้วัดความเหลื่อมล้ าอย่างแพร่หลาย เพื่อ
                  สะท้อนให้เห็นถึงรายได้ของประชากรมีความแตกต่างกัน  ซึ่งเกิดจากการพัฒนาที่มีลักษณะ

                  ไม่สมดุลหรือกระจุกตัวในบางพื้นที่หรือบางสาขาการผลิต ส งผลใหผลประโยชนที่เกิดขึ้นจาก
                  การพัฒนากระจายไปไม่ทั่วถึงทั้งในเชิงพื้นที่และกลุมบุคคล (อติวิชญ์ แสงสุวรรณ)
                       ความเหลื่อมล้ าด้านการถือครองที่ดิน หมายถึง จ านวนครัวเรือนที่มีบ้านและที่ดินของตนเองการมีบ้าน

                  และมีที่ดินเป็นของตนเอง และเป็นหนึ่งประเด็นที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดว่าเป็นทั้งผลกระทบและเป็น
                  ต้นเหตุของปัญหาทางเศรษฐกิจสังคมที่ส าคัญ (ธันภัทร โคตรสิงห์ : 2559)
                       ความเหลื่อมล้ าทางด้านการเงิน คือ ปริมาณบัญชีเงินฝากรับฝากในระบบธนาคารพาณิชย์ โดยแสดง
                  ข้อมูลกลุ่มบุคคลกลุ่มที่มีเงินฝาก 0 บาท จนถึง 10 ล้านขึ้นไป ดังนั้นสามารถแสดงถึงฐานะของกลุ่มคนได้อย่าง

                  ชัดเจน
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136