Page 133 - 22825_Fulltext
P. 133

2-93



                  นอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยแบบคนไข้ในก็เพิ่มจาก 120 ล้านวัน/ปี  ซึ่งปริมาณคนไข้ดังกล่าว ส่วนใหญ่จะมา
                  รักษาที่โรงพยาบาลของรัฐโดยเฉพาะโรงพยาบาลในสังกัดของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีจ านวนมากและ
                  กระจายทั่วถึงที่สุด จากข้อมูลเฉพาะส่วนของกระทรวงสาธารสุข จากข้อมูลเฉพาะส่วนของกระทรวง

                  สาธารณสุข ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงสาธารณสุข ระบุ
                  ว่า ในปีงบประมาณ 2561 มีผู้ป่วยนอกจ านวน 71.83 ล้านคน ตรวจรักษา 247.34 ล้านครั้ง (เฉลี่ย 3.44 ครั้ง/
                  คน) สภาพคนไข้จึงล้นโรงพยาบาลรัฐ จึงเป็นสัดส่วนที่รับภาระหนักที่สุด สภาพคนไข้ที่ล้นโรงพยาบาลรัฐ ท าให้

                  บุคลากรไม่สามารถดูแลคุณภาพบริการได้เท่าที่ควร ในขณะที่มาตรการเพิ่มอัตราก าลังในระบบราชการไม่
                  สามารถท าได้ทัน ทั้งการผลิต การบรรจุเข้าท างานและการรักษาคนเอาไว้ล้วนมีปัญหาข้อก าจัด แสดงให้เห็นว่า
                  บุคลกรทางการแพทย์สัดส่วนไม่มีเพียงต่อการักษาคนไข้ ยิ่งสัดส่วนที่ห่างเกินไปอันด้วยสภาพความเหนื่อยล้าส่ง
                  ต่อคุณภาพบริการที่ถดถอยไปตามปริมาณงาน ประชาชนนอกจากต้องรอคิวนานแล้ว บุคลากรทางการแพทย์ก็
                  ไม่มีเวลาเอาใจใส่ ความพึงพอใจจึงตามมา สถานการณ์เช่นนี้ ด้านหนึ่งเป็นความเหลื่อมล้ าทางภาระระหว่าง

                  บุคคลต่างๆหน่วยงาน นอกจากบุคลากรจะไม่สะดวกแล้ว โรงพยาบาลเอกชนสะดวกกว่า แต่ค่ารักษาแพงกว่า
                  มากควบคุมราคาไม่ได้
                       การแพร่ระบาดของโควิดได้ซ้ าเติมปัญหาอย่างหนักหน่วงต่อบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งเป็นด้านหน้า ทั้ง

                  ด้านปริมาณภารกิจของการท าหน้าที่รักษาเยียวยาผู้ป่วยจากโควิด รวมทั้งป่วยอื่นๆ นขณะที่บุคลากรเหล่านี้ยัง
                  ต้องเผชิญกับความเสี่ยงของการติดเชื้อร่วมด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ในห้อง
                  ฉุกเฉินของทั้งโรงพยาบาลรัฐและโรงพยาบาลเอกชน ที่ต้องเร่งท างานแข่งกับเวลาซึ่งหมายถึงการเร่งยื้อชีวิต
                  ช่วยเหลือผู้ป่วยให้ทันท่วงที ที่ความเสี่ยงของการรับเชื้อโควิดมีอยู่รายรอบทุกขณะของการปฏิบัติหน้าที่ที่อาจ

                  หลีกเลี่ยงได้
                       โรคระบาดช่วยเปิดเผยให้เห็นถึงความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ โดยโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมโลก
                  เต็มไปด้วยการกดขี่ การเอารัดเอาเปรียบ ความรุนแรงต่างๆ โดยเฉพาะสังเกตได้จากด าเนินมาตราการควบคุม
                  โรคของภาครัฐ เช่น การก าหนดเขตกักกันโรค การติดตามกรณีผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค และการวางระบบเฝ้า

                  ระวัง มักถูกควบคุมชนชั้นล่าง มากกว่าชนชั้นสูงด้วยเหตุที่ว่าชนชั้นล่างผู้ด้อยโอกาสนี้ ที่ต้นเหตุต้นตอของ
                  ปัญหาการระบาดของโรคจนส่งผลให้ชนชั้นสูงได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ(สุริยะ หาญพิชัย : 2563)
                         ปัญหาความเหลื่อมล้ าในสังคมไทยขยายตัวอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาหลายทศวรรษที่ผ่าน ส่วนหนึ่ง

                  เป็นผลผลพวงมาจากการมุ่งพัฒนาประเทศที่เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างไม่ได้มีการพัฒนาแบบองค์รวม
                  จนท าให้เกิดปัญหาที่ยากจะแก้ไข หนึ่งในประเด็นที่ได้รับกลางถึงมากที่สุดคือ ปัญหาความเหลื่อมล้ าในการถือ

                  ครองที่ดิน ปัจจุบันเกษตรกรและคนจนจ านวนมากต้องประสบกับปัญหาไร้ที่ดินท ากิน หรือมีที่ดินไม่เพียงพอ
                  ต่อการอยู่อาศัยและท ามาหาเลี้ยงชีพ ท าให้เกษตรกรไม่สามารถรักษาที่ดินท ากินของตัวเองไว้ได้

                         รัฐรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติเรื่องหน้าของภาครัฐในหมวดที่ 5 ซึ่ง

                  การบัญญัติหน้าที่ของรัฐหมวดนี้ เกิดจากแนวคิดที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้มีการทบทวนหมวดสิทธิ
                  เสรีภาพ และหมวดนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ที่ผ่านมาซึ่งบางเรื่องเป็นสิทธิพื้นฐานที่ส าคัญ

                  เช่น สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ สิทธิในการได้รับการศึกษา การคุ้มครองผู้บริโภค การสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน
                  รวมถึงแนวนโยบายพื้นฐานของภาครัฐที่ส าคัญ คือ การจัดการสาธารณูโภคขั้นพื้นฐานที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต

                  ของประชาชนทั่วไป อาทิเช่น ไฟฟ้า น้ าประปา การเดินรถประจ าทาง โทรศัพท์ (วัชราภรณ์ จุ้ยล าเพ็ญ)
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138