Page 135 - 22825_Fulltext
P. 135
2-95
ทางวัฒนธรรมและโครงสร้างได้อย่างต่อเนื่องอย่างไม่สิ้นสุดหากไม่มีกระบวนการในการจัดการกับปัญหาได้ดี
เพียงพอ การศึกษาสันติภาพของประเทศตะวันออก เน้นไปที่ความคิดว่าการท าให้เกิดสันติภาพไม่อาจมองข้าม
การศึกษาสันติภาพจากภายในตนเอง แต่ละปัจเจกบุคคลมีความส าคัญ สันติภาพของปัจเจกบุคคลมี
ความส าคัญ จะเห็นได้ว่าการศึกษาสันติภาพของ 2 บริบทนี้มีจุดเน้นที่แตกต่างกัน แต่ไม่ได้แยกการศึกษาจาก
กันอย่างเด็ดขาด ในด้านการศึกษาสันติภาพภายในและภายนอก เมื่อเชื่อมโยงแนวคิดของตะวันตกและ
ตะวันออก กล่าวได้ว่า การเข้าใจตนเองมีความส าคัญ การท าให้จิตใจของตนเองมีเมตตาธรรมก็มีความจ าเป็น
แต่การท างานกับคนอื่นก็มีความส าคัญ เปรียบได้กับการนึกถึงแต่การกินอาหารออร์แกนิคเท่านั้น ดีแต่ไม่
เพียงพอ หากไม่ได้นึกถึง การป้องกันการท าลายป่าไม้ การให้การศึกษากับเด็ก หรือการป้องกันการฆ่าล้าง
เผ่าพันธุ์ การกล่าวถึงสันติภาพมักจะกล่าวถึง การคิดสากล ท าในชุมชน (Think Globally, act locally) และ
เป็นการกระท าที่ควรท าร่วมกัน ไม่กระท าเพียงล าพัง ซึ่งจะท าให้ได้พลังมากกว่าการท าเพียงคนเดียว สันติภาพ
จึงมีมุมที่เกี่ยวข้องกับสันติภาพภายในและสันติภาพภายนอก คนที่ท างานด้านสันติภาพที่แก้ไขความขัดแย้งใน
ชุมชน ในประเทศ จึงควรทบทวนตนเอง เข้าใจตนเองอย่างสม่ าเสมอว่าเราไม่ได้เกิดมาเพื่อยึดตนเองเป็น
ศูนย์กลางโดยละเลยการเข้าใจบุคคลอื่น
แนวทางในการป้องกันความรุนแรง สงครามระหว่างประเทศและภายในประเทศแนวทางหนึ่งคือ
การเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning) สามารถกระท าได้โดย 1)ระบุประเภทและต าแหน่งของความขัดแย้งที่
จ ะ ก ล า ย เ ป็ น ค ว า ม รุ น แ ร ง 2 ) ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ว่ า ใ ก ล้ แ ค่ ไ ห น ที่ จ ะ น า ไ ป สู่
ความรุนแรง การเตือนภัยล่วงหน้าจะเป็นการท างานที่เน้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ มีการใช้สถิติเข้ามาในการ
จัดระบบข้อมูล รวมถึงหาสาเหตุของความขัดแย้งดังกล่าว และหาผู้ที่มีศักยภาพในการป้องกันและจัดการกับ
ปัญหานั้นได้ การทราบถึงข้อมูลดังกล่าวอย่างเพียงพอจะท าให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้
อย่างเที่ยงตรงและทันเวลา ในต่างประเทศมีการสร้างฐานข้อมูลด้านสันติภาพไว้อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งดัชนีสันติภาพโลก (GPI) และดัชนีสันติภาพเชิงบวก (PPI) จัดท าโดยสถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ
(IEP) ได้ด าเนินการจัดเก็บข้อมูลมายาวนานนับสิบปีอย่างต่อเนื่อง โดย เน้นวัดสันติภาพในเชิงลบ (ความรุนแรง
ที่เห็นได้ชัดเจน) และขยายงานด้านสันติภาพให้กว้างขึ้นมาเป็นการวัดสันติภาพในเชิงบวก (ความรุนแรงทาง
โครงสร้างและวัฒนธรรม) โดยเก็บข้อมูลเปรียบเทียบสันติภาพจาก 163 ประเทศ สถาบันเศรษฐศาสตร์และ
สันติภาพ ได้จัดท ารายงานตัวชี้วัดออกมาทั้งสันติภาพเชิงลบและสันติภาพเชิงบวก แต่การจัดท ารายงานจะ
แยกกันเป็นคนละเล่ม การวัดสันติภาพเชิงลบมีความสลับซับซ้อนน้อยกว่า และวัดได้ง่ายและชัดเจน
ประกอบด้วย 3 ด้านหลัก (Domains) คือ 1.ความขัดแย้งภายในและระหว่างประเทศที่ยังด ารงอยู่ (Ongoing
Domestic and International Conflict) 2.ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม (Societal Safety and
Security) 3.การทหาร (Militarisation) อย่างไรก็ตาม การวัดสันติภาพเชิงลบเน้นไปที่การวัดความรุนแรงที่
เห็นได้ชัดเจนทางกายภาพ แต่ไม่ได้ลงลึกถึงความรุนแรงที่ซ่อนอยู่หรือเบื้องหลังสาเหตุที่ท าให้เกิดความรุนแรง
ทางกายภาพ สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ จึงได้วัดระดับสันติภาพเชิงบวก (PPI) โดยอธิบายถึงความ
รุนแรงทางโครงสร้างและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างอ านาจของสังคม ความเชื่อที่ส่งผลต่อการใช้หรือไม่
ใช้ความรุนแรง สันติภาพเชิงบวกรวมสันติภาพในเชิงลบเข้าไปด้วย รวมถึงสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อีกทั้ง
ทัศนคติ สถาบัน โครงสร้างซึ่งสร้างและท าให้สังคมมีสันติภาพที่ยั่งยืน ประกอบด้วยตัวชี้วัด 8 ด้าน คือ 1) ด้าน
การยอมรับสิทธิของผู้อื่น (Acceptance of the Rights of Others) 2) การกระจายทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน