Page 119 - 22825_Fulltext
P. 119
2-79
ได้ว่าสิทธิมนุษยชนเป็นของคนทุกคนไม่วาจะยากจนหรือร่ ารวย คนพิการ เด็กผู้หญิง และไม่สามารถแยกได้วา
สิทธิใดส าคัญกว่าอีกสิทธิหนึ่ง (Indivisibility) กลาวคือ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ไม่สามารถแบ่งแยก
ได้วามีความส าคัญมากกวาสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สิทธิทั้งสองประการนี้ต่างมีความส าคัญที่
เท่าเทียมกัน ดังนั้นรัฐบาลจะอ้างว่าต้องพัฒนาประเทศให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจ หรือตองแก
ไขปญหาปากทองก่อน แล้วจึงค่อยให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองยอมขัดตอหลักการสิทธิมนุษยชน
(เจษฎา นกน้อย, 2552)
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุมบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ยังคงตั้งอยู่บนแนวคิดเรื่อง
ระบบสองเพศ (Binary Sexes) ที่จ าแนกเพศออกเป็นเพศชายและหญิง ท าใหกลุมบุคคลที่มีความหลากหลาย
ทางเพศกลายเป็นคนส่วนน้อยที่ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและระบบกฎหมาย ขอจ ากัดและอุปสรรคของ
การยอมรับความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยมีสาเหตุส าคัญมาจากการก าหนดสถานะทางสุขภาพตาม
แนวทางที่องค์การอนามัยโลกก าหนด สงผลใหกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตองถูกตีตราและ
กลายเป็นกลุ่มเป้าหมายของการใชความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติอย่างกว้างขวางทั้งจากสังคมและระบบ
กฎหมาย จากสถานะทางกฎหมายของกลุมบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยดังที่ได้กล่าวมานี้
ได้สร้างขอจ ากัดในการเขาถึงสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ซึ่งกอใหเกิดปญหาทางกฎหมายทั้งในเชิงโครงสร้าง
และปญหาเชิงเนื้อหาสาระส าคัญที่ไม่สอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชนตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิ
มนุษยชนที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี ดังนั้นประเทศไทยจึงควรด าเนินการยกเลิกสถานะทางสุขภาพของกลุ
มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามแนวทางที่ องคการอนามัยโลกก าหนดไวพรอมทั้งสร้างความ
เขาใจที่ถูกตองตอสังคมเกี่ยวกับสถานะทางสุขภาพของกลุมบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศวาเป็น
เรื่องของความแตกต่างมิใชเป็นความผิดปกติทางจิต และพฤติกรรม รวมทั้งปรับปรุงระบบกฎหมาย
ไทยใหสอดคลองกับแนวทางที่องคการสหประชาชาติได้ก าหนดไว 4 ประการ คือ 1) สร้างหลักประกัน
ความคุมครองจากการใชความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติ เพราะเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์
ทางเพศในรัฐธรรมนูญ 2) เพิ่มมาตรการคุ มครองและป องกัน การใช ความรุนแรง
การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งวิถีทางเพศ และอัตลักษณทางเพศในพระราชบัญญัติความเทาเทียม
ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 3) ก าหนดมาตรการรับรองสถานภาพและความสัมพันธ ทางกฎหมายจาก
การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแหงวิถีทางเพศและอัตลักษณทางเพศ และ 4) เสริมสร้างความเขมแข็ง
กลไกและแผนสิทธิมนุษยชนในเรื่องวิถีทางเพศและอัตลักษณทางเพศ (อารยา สุขสม, 2559)
ส าหรับมุมมองการยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปมีบทบาททางสังคมและ
การเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยอมรับที่จะให้ผู้หญิงเข้ามามีบทบาททางสังคมและการเมืองมากที่สุด
รองลงมาคือ ผู้มีความหลากหลายทางเพศ (เกย์ ตุ๊ด ทอม และดี้) และยอมรับพวกยึดถือชาตินิยมสุดโต่งเข้ามามี
บทบาททางสังคมและการเมืองได้น้อยที่สุด (สถาบันพระปกเกล้า และส านักงานสถิติแห่งชาติ, 2562)
จากที่กล่าวมาข้างต้น รัฐต้องมีการสร้างเครือข่ายความรู้โดยการจัดตั้งองค์กรเพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย และสามารถน าความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดท าความรู้
ความเข้าใจด้านความรู้ในการเมืองแบบประชาธิปไตยให้กับครอบครัวและชุมชนต่อไป และความเสมอภาคมี
มิติที่เกี่ยวข้องหลายมิติ อาทิ มิติทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ตลอดจนความเสมอภาคในครอบครัว (วิภา
พรรณ อุปนิสากร, 2559) ควรมีกฎหมายรับรองความสัมพันธ์ทางกฎหมายและผลประโยชนทางเศรษฐกิจที่
เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มีเพศเดียวกัน โดยต้องไดรับสิทธิประโยชนเช่นเดียวกับคู
ชีวิตต่างเพศที่อยู่กินร่วมกันฉันท์สามีภรรยาที่ยังมิได้ท าการสมรส ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันในการ
คุ้มครองสิทธิในการรับรองความสัมพันธ์ทางกฎหมายจากการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแหงวิถีทางเพศ มีการเพิ่ม