Page 113 - 22825_Fulltext
P. 113

2-73



                         เห็นได้ว่าสิทธิกับเสรีภาพนั้นมีความคล้ายคลึงกัน และมีความต่างที่อ านาจอันชอบธรรมที่กฎหมาย
                  รับรองให้แก่บุคคล อีกทั้ง ยังมีความเกี่ยวพันอีกหลายประการ กล่าวคือ สิทธินั้นหมายความรวมถึง สิทธิที่จะมี
                  เสรีภาพต่าง ๆ ตามควรแก่สภาพและฐานะของบุคคลด้วย และเสรีภาพนั้น ที่ส าคัญคือ เสรีภาพที่จะ

                  กระท าการหรือไม่กระท าการใด ๆ ได้ตามสิทธิของตน สิทธิยังเป็นตัวบ่งชี้ส าคัญถึงระดับความมี
                  เสรีภาพ  เนื่องจากความหมายของสิทธิแล ะเสรีภาพใกล้เคียงกัน  และสัมพันธ์กัน
                  อย่างใกล้ชิด อย่างไรก็ตาม เสรีภาพนั้นมีความแตกต่างจากสิทธิ เนื่องจากสิทธิเป็นอ านาจที่บุคคลใช้ใน

                  ความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับผู้อื่น โดยการเรียกร้องให้ผู้อื่นกระท าการหรือละเว้นกระท าการ
                  อย่างใดอย่างหนึ่งให้เป็นประโยชน์แก่ตน แม้ว่าการที่กฎหมายรับรองเสรีภาพอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่บุคคลย่อม
                  มีผลก่อให้เกิดหน้าที่แก่ผู้อื่นด้วยเหมือนกัน แต่หน้าที่ที่เกิดขึ้นแก่ผู้อื่นอันเนื่องมาจากกฎหมายรับรองเสรีภาพ
                  ให้แก่บุคคลคนหนึ่ง เป็นเพียงหน้าที่ที่จะต้องเคารพเสรีภาพของเขา
                         สิทธิมนุษยชน (Human Rights) เป็นค าที่ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในสังคม ทั้งด้านบวกและด้านลบ

                  ทั้งนี้ ความหมายของสิทธิมนุษยชนได้ถูกบัญญัติไว้ทั้งในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายพระราชบัญญัติ และ
                  ก าหนดเป็นบทบาทหน้าที่ขององค์กรทั้งในระหว่างประเทศและองค์กรภายในประเทศ อีกทั้งยังได้มีการให้
                  ค ว า ม ห ม า ย เ พื่ อ ข ย า ย ค ว า ม โ ด ย ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น

                  ที่เป็นทั้งกฎหมาย นักวิชาการ สรุปความหมาย ตามล าดับ สรุปได้ดังนี้
                             รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
                             มาตรา 4 บัญญัติว่า “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพ และความเสมอภาค
                  ของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน”

                             มาตรา 27 บัญญัติว่า “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครอง
                  ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน
                             พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                  พ.ศ. 2560

                             มาตรา 4 ให้ความหมาย สิทธิมนุษยชน หมายถึง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความ
                  เสมอภาคของบุคคล ที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย หรือตามหนังสือสัญญาที่
                  ประเทศไทยเป็นภาคีและมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม
                             ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (2559) ให้ความหมาย สิทธิมนุษยชน (Human

                  Rights) หมายถึง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ที่มีตามธรรมชาติ และติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด รวมถึงสิทธิ เสรีภาพ
                  และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครอง ตามกฎหมายซึ่งมีการรับรองไว้
                             แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (2563) ให้ความหมายว่า สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิและเสรีภาพขั้น
                  พื้นฐานที่เป็นของพวกเราทุกคน ไม่ว่าเราจะเป็นใคร หรืออยู่ที่ไหนบนโลกใบนี้ สิทธิมนุษยชนไม่สามารถถูก

                  พรากไปได้ แต่บางครั้งสิทธิมนุษยชนอาจถูกจ ากัด เช่น การท าผิดกฎหมาย หรือกระท าการที่อาจเป็นอันตราย
                  ต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งนี้ สิทธิมนุษยชนนั้น ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณค่าความเป็นมนุษย์ เช่น ความมีศักดิ์ศรี
                  ความยุติธรรม ความเท่าเทียม ความเคารพและความเป็นอิสระ นอกจากนี้สิทธิมนุษยชนนั้นไม่ได้เป็นเพียงแค่
                  แนวคิดที่เป็นนามธรรมเท่านั้น เพราะสิทธิมนุษยชนคือแนวคิดที่ได้รับการนิยาม และได้รับการคุ้มครองตาม

                  กฎหมาย สิทธิมนุษยชนมีหลักส าคัญคือ เป็นสิทธิเฉพาะตนของมนุษย์แต่ละคนที่ไม่สามารถโอนให้กันได้ เป็น
                  สิทธิที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้ และพึ่งพิงซึ่งกันและเป็นวิถีทางที่จะน าไปสู่สันติภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน และ
                  เป็นสิทธิที่ทุกคนพึงมีอย่างเท่าเทียมกันอย่างเป็นสากลและตลอดไป
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118