Page 155 - 22665_Fulltext
P. 155

138







                       ยางพารา รองลงมาได้แก่ ข้าว มันส าปะหลัง ข้าวโพด ถั่วลิสง และนอกจากนี้ยังมีการปลูกผลไม้ทาง
                       เศรษฐกิจเพิ่มคือ เงาะ ทุเรียน ฝรั่ง ทางทิศใต้ของต าบล ในต าบลบักดองไม่มีการท าการประมงเป็น

                       อาชีพหลัก แต่เนื่องจากเขตต าบลบักดองมีล าห้วยธรรมชาติ ประชาชนจึงหาปลาและสัตว์น้ าอื่น ๆ มา
                       เพื่อบริโภค มีการเลี้ยงปลาในกระชังเพื่อเป็นรายได้เสริม และมีการ เลี้ยงปลาในแหล่งน้ าขนาดเล็ก

                       ตามไร่นาเพื่อเป็นอาหารด้วย ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ต าบลบักดอง มีทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นป่า
                       เขา มีล าห้วย หนอง คลอง บึงอยู่ทั่วไป มีสภาพเป็นป่าไม้และภูเขาด้านทิศใต้ของต าบล เป็นแหล่งต้น

                       น้ าล าธาร จึงมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการปรับปรุง

                       พัฒนาแล้ว ได้แก่ น้ าตกส าโรงเกียรติ น้ าตก พรหมวิหาร น้ าตกบักดอง เขื่อนห้วยทา ปราสาทต าหนัก
                       ไทร น้ าตกพรหมโลก น้ าตกถ้ าพระพุทธ สวน ผลไม้ กลุ่มอาชีพ ทุกหมู่บ้านมีกลุ่มอาชีพ มีทั้งของกิน

                       และของใช้ ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ทุเรียนภูเขาไฟ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม การนับถือ

                       ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประชากรใน ต าบลบักดองนับถือศาสนาพุทธ รวม
                       9,152 คน คิดเป็นร้อยละ 99.89 และนับถือศาสนาคริสต์ รวม 10 คน คิดเป็นร้อยละ 0.11 พิธีส าคัญ

                       เช่น แซนโฎนตา ไหว้บรรพบุรุษและพิธีทอดกฐินสามัคคี
                                  กล่าวอย่างเจาะจงถึงข้อมูลพื้นฐานของบ้านทับทิมสยาม 07 หมู่ 15 ต าบลบักดอง

                       อ าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นยุทธศาสตร์ป้องกันประเทศตามแนว
                       ชายแดน เพื่อตอบสนองพระราชเสาวนีย์ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัย

                       ลักษณ์ องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ (พระยศในขณะนั้น) โดยการอพยพราษฎรจากบ้านสันติสุข

                       บ้านตาจู บ้านสวายโก่ง บ้านพราน บ้านกระหวัน บ้านดื่อ ฯลฯ ในเขตอ าเภอ ขุนหาญ อ าเภอไพรบึง
                       อ าเภอศรีรัตนะ ฯลฯ ที่มีฐานะยากจนเข้ามาอยู่ในโครงการ โดยสถาบันฯ จะสร้างบ้านพักให้ในพื้นที่ 1

                       ไร่ และจัดที่ท ากินส าหรับเกษตรกร จ านวน 210 ครอบครัว การเกษตรกรรม มีพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น

                       1,650 ไร่ พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ ๆ คือ  ข้าว มันส าปะหลังยางพารา แตงโม ผลไม้อื่น ๆ เช่น เงาะ
                       ทุเรียน มังคุด ฯ การเมืองการปกครอง ในอดีต เคยมีประเด็นการร้องเรียนผู้ใหญ่บ้านแล้วให้พักการ

                       ปฏิบัติงาน แต่ปัจจุบันสามารถท างานร่วมกันได้เป็นอย่างดีประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาเขมร มี
                       ประเพณีที่ส าคัญ ได้แก่ สาร์ทเขมร (ประเพณีเซนโดนตา) ปัญหาด้านสังคม เกี่ยวข้องกับการศึกษา

                       น้อย ประชากรย้ายถิ่นการตัดไม้ท าลายป่า การใช้สารเคมี ปัญหาเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับความยากจน
                       มีหนี้สิน งบประมาณด้านการพัฒนาที่ได้รับจากอบต.บักดอง จะเกี่ยวข้องกับ โครงการก่อสร้างรั้วและ

                       ปักแนวเขตที่สาธารณะป่าชุมชน ปรับปรุงถนนดินพร้อมลงหินคลุก ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก

                       โครงการรณรงค์เด็กไทยใส่ หมวกกันน็อก โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโร
                       นา 2019 (COVID-19) ในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ม.15  ผลงานส าคัญในด้านอาชีพ กลุ่มผลิตภัณฑ์

                       โครงการปราชญ์ชาวบ้านผลิตภัณฑ์กลุ่มจักสานหวายหมู่บ้านทับทิมสยาม 07
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160