Page 73 - kpi22228
P. 73

65



                       หลังการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2531 มีขอมูลวาพรรครวมรัฐบาลจะเชิญ พล.อ. เปรม

               ใหกลับมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีตออีก แต พล.อ. เปรมปฏิเสธวา “ผมพอแลว” (ชวลิต ยงใจยุทธ 2561)
               นับเปนการยุติบทบาททางการเมืองในฐานะนายกรัฐมนตรีของ พล.อ. เปรมที่ยาวนานกวา 8 ป 5 เดือน



                       3.1.7 การแขงขันทางการเมืองหลังยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ
                       ในการเลือกตั้งทั่วไป 24 กรกฎาคม 2531  มีความคึกคักเมื่อ พล.ต. จําลอง ศรีเมือง ผูวาราชการ

               กรุงเทพมหานคร ตั้งพรรคพลังธรรมขึ้นเพื่อลงแขงขัน สวน พล.อ. อาทิตย กําลังเอก ไดตั้งพรรคปวงชน

               ชาวไทย พรอมทั้งรณรงคหาเสียงและประกาศตัววาจะเปนนายกรัฐมนตรีอยางแข็งขัน สวนกลุม 10 มกราฯ
               ที่ประกาศแยกตัวจากพรรคประชาธิปตยตั้งพรรคการเมืองใหมในชื่อพรรคประชาชน โดยมีเฉลิมพันธ ศรีวิกรณ

               รับตําแหนงหัวหนาพรรค ขณะที่บริบททางการเมืองนอกสภาเกิดกระแสตอตาน “นายกฯ คนกลาง” อยาง

               กวางขวางจากขบวนการนักศึกษา เอ็นจีโอ และสื่อมวลชน ทวากระแสดังกลาวไมไดรับการขานรับจากพรรค
               การเมืองเทาที่ควร มีเพียงพรรคกาวหนาและพรรคกิจประชาคมที่แสดงจุดยืนชัดเจนวาไมเอานายกฯ คนกลาง

                       การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2531 ปรากฏผลดังนี้ พรรคชาติไทยไดรับชัยชนะดวยจํานวน

               ส.ส. ทั้งสิ้น 87 ที่นั่ง พรรคกิจสังคม 54 ที่นั่ง พรรคประชาธิปตย 48 ที่นั่ง พรรครวมไทย 35 ที่นั่ง พรรค
               ประชากรไทย 31 ที่นั่ง พรรคราษฎร 21 ที่นั่ง พรรคประชาชน 19 ที่นั่ง พรรคปวงชนชาวไทย 17 ที่นั่ง พรรค

               พลังธรรม 14 ที่นั่ง พรรคกิจประชาคม 9 ที่นั่ง พรรคกาวหนา 8 ที่นั่ง พรรคสหประชาธิปไตย 5 ที่นั่ง พรรค

               มวลชน 5 ที่นั่ง พรรคเสรีนิยม 3 ที่นั่ง และพรรคพลังสังคมประชาธิปไตย 1 ที่นั่ง นั่นคือชัชวาลย ชมภูแดง
               หัวหนาพรรค ซึ่งเปน ส.ส. ที่มีจุดยืนในแนวทางสังคมนิยมคนสุดทายในสภาผูแทนราษฎร (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

               2551, 207) เมื่อทราบผลการเลือกตั้งแลว พรรคชาติไทย พรรคประชาธิปตย พรรคกิจสังคม และพรรคราษฎร

               รวมกันเสนอชื่อ พล.อ. เปรมเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แตดวยกระแสคัดคานอยางหนักจากสังคม รวมถึง
               นักวิชาการ 99 คน ที่รวมกันถวายฎีกา เพื่อกดดัน พล.อ. เปรมดวยอีกทางหนึ่ง ประกอบกับทาทีของผูนํา

               กองทัพที่มิไดแสดงทาทีที่ชัดเจนในการสนับสนุน พล.เปรมใหเปนนายกรัฐมนตรีอีกสมัย ทําให พล.อ. เปรม

               ตัดสินใจไมรับตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยกลาวตอหนาแกนนําทั้ง 5 พรรคการเมืองบนโตะเจรจาที่บานสี่เสาฯ
               วา “ผมเห็นวาเปนมาพอสมควรแลว” ทั้งนี้ พล.อ. เปรมยังกลาวถึงบุคคลที่สมควรเปนนายกรัฐมนตรีคนตอไป

               วา “(ตน) อยากใหประเทศไทยไดประชาธิปไตยเต็มใบ อยากเห็น ส.ส. ไดเปนนายกรัฐมนตรี พวกเรารวมงาน

               กันมาดวยดีจึงอยากใหดําเนินงานกันตอไป ใหพวกเราชวยกันสนับสนุนพรรคของ ‘ผูการ’ ก็แลวกัน”
               ซึ่งหมายถึง พล.ต. ชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหนาพรรคชาติไทย (ธนาพล อิ๋วสกุล 2561; ชวลิต ยงใจยุทธ 2561)

               ทําใหพรรคกิจสังคม พรรคประชาธิปตย พรรคราษฎร และพรรคสหประชาธิปไตย รวมกันสนับสนุน

               พล.อ. ชาติชายเขารับตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78