Page 71 - kpi22228
P. 71

63



                       ตอมามีความขัดแยงในพรรครวมรัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ลาออกจากตําแหนงหัวหนาพรรคกิจ

               สังคมซึ่งเปนพรรครวมรัฐบาลที่มีนํานวน ส.ส. มากที่สุดในเดือนธันวาคม 2528 พล.อ.อ. สิทธิ เศวตศิลา
               ไดรับเลือกเปนหัวหนาพรรคกิจสังคมแทน สงผลใหเกิดการปรับเกาอี้ในคณะรัฐมนตรีในเดือนมกราคม 2529

               นายบุญเทง ทองสวัสดิ์ ส.ส. พรรคกิจสังคม จังหวัดลําปาง หลุดจากตําแหนงรองนายกรัฐมนตรี โดย

               พล.อ.อ. สิทธิเขารับตําแหนงแทน นําความไมพอใจมาสูนายบุญเทงไมนอยจึงประกาศไมยอมรับหัวหนาพรรค
               กิจสังคมคนใหม พรอมทั้งประกาศวาจะรวมมือลมรัฐบาล โดยนายบุญเทงไดรับเสียงสนับสนุนจาก ส.ส. ในพรรค

               กิจสังคมจํานวนไมนอย ขณะที่กองทัพมีความพยายามที่จะตออายุราชการ พล.อ. อาทิตย กําลังเอกอีกครั้ง

                       วันที่ 24 มีนาคม 2529 พล.อ. เปรมประกาศวาจะไมตออายุราชการ พล.อ. อาทิตยอีก สงผลให
               พล.อ. อาทิตยหันไปจับมือกับ ส.ส. พรรคกิจสังคมบางสวนรวมมือกับฝายคานเพื่อคว่ําการพิจารณาราง

               พ.ร.บ.ขนสงทางบก จนฝายรัฐบาลแพญัตติ พล.อ. เปรมจึงประกาศยุบสภา และตัดกําลังคูแขงทางการเมือง

               โดยการปลด พล.อ. อาทิตย พนจากตําแหนงผูบัญชาการทหารบก คงเหลือไวเพียงตําแหนงผูบัญชาการทหาร
               สูงสุด เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2529 จากนั้นแตงตั้ง พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ดํารงตําแหนงแทน ทําใหกระแส

               ขาวลือการรัฐประหารออนแรงลง ทั้งนี้ สถานการณความตึงเครียดทางการเมืองไดผอนคลายลงไปอีกเมื่อ

               พล.อ. ชวลิต ผูบัญชาการทหารบกคนใหมประกาศตัวสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
               2551, 204)

                       การเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 ทามกลางกระแสตอตาน “นายกรัฐมนตรีคนกลาง”

               อยางหนัก โดยมีสหพันธนิสิตนักศึกษาเปนแกนกลางในการผลักดันประเด็นดังกลาวโดยใหเหตุผลวาประชาชน
               ไมตองการผูนําที่วางตัวเหนือความรับผิดชอบ ทวาประชาชนตองการนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้ง

               จากประชาชน (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 204) ทําใหการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งพรรคการเมืองตาง

               ชูประเด็นนี้เปนกลยุทธในการรณรงคหาเสียงชวงเลือกตั้งเพื่อเรียกคะแนนจากประชาชน เชน พรรคกิจสังคม
               และพรรคประชาธิปตยที่ตางก็แสดงจุดยืนวาหากเลือกพรรคจนไดรับชัยชนะจะใหหัวหนาพรรคเปน

               นายกรัฐมนตรี หรือหัวหนาพรรคกาวหนา นายอุทัย พิมพใจชนมีจุดยืนวานายกรัฐมนตรีควรจะมาจากการ

               เลือกตั้งโดยประชาชน เปนตน
                       ผลการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 27 กรกฎาคม ปรากฏวาพรรคประชาธิปตยไดจํานวน ส.ส. มากที่สุด 100

               ที่นั่ง พรรคชาติไทย 63 ที่นั่ง พรรคกิจสังคม 51 ที่นั่ง พรรคสหประชาธิปไตย (นายบุญเทง ทองสวัสดิ์ นํากลุม

               ส.ส. ออกจากพรรคกิจสังคม ตั้งขึ้นโดยรวมกับ พ.อ. พล เริง ประเสริฐวิทย) ได 38 ที่นั่ง พรรคประชากรไทย
               24 ที่นั่ง พรรครวมไทย 19 ที่นั่ง พรรคราษฎร 18 ที่นั่ง พรรคกิจประชาคม 15 ที่นั่ง พรรคกาวหนา 9 ที่นั่ง

               พรรคมวลชนและพรรคชาติประชาธิปไตยไดพรรคละ 3 ที่นั่ง พรรคปวงชนชาวไทย พรรคพลังใหม พรรค

               แรงงานประชาธิปไตย และพรรคเสรีนิยม ไดพรรคละ 1 ที่นั่ง จากจํานวน ส.ส. ทั้งหมด 347 ที่นั่งในสภา
               ผูแทนราษฎร
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76