Page 70 - kpi22228
P. 70
62
25
ยุทโธปกรณที่แพงกวาปกติ24 ขณะที่ฝายรัฐบาลยังคงยืนยันวาการลดคาเงินบาทเปนการตัดสินใจที่รอบคอบ
แลว และจะไมมีการปรับคณะรัฐมนตรีแตอยางใด ทั้งยังสง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ออกมาอธิบายให
ประชาชนเขาใจในการดําเนินนโยบายดังกลาวของรัฐบาล ซึ่งสถานการณในขณะนั้นคอนขางตึงเครียดและ
มีสัญญาณการกอรัฐประหารขึ้นตลอดเวลา ตอมา พล.อ. อาทิตยและผูนําเหลาทัพแถลงวา “ทุกอยางคลี่คลาย
แลว ขอใหทุกคนสามัคคีกัน อยาทําอะไรยุงยาก” ขณะที่ พล.อ. เปรมแถลงถึงกรณีที่เกิดขึ้นเปนเพียง
“เรื่องเขาใจไมตรงกัน” (ธนาพล อิ๋วสกุล 2561)
ในปถัดมา มีความพยายามกอรัฐประหารอีกครั้งในวันที่ 9 กันยายน 2528 โดยคณะทหารทั้งในและ
นอกประจําการ นําโดย พล.อ. เสริม ณ นคร กอการรัฐประหารในชวงที่ พล.อ. เปรมเดินทางเยือนประเทศ
อินโดนีเซีย ทวาแผนการรั่วไหลและแกนนํารัฐประหารบางคน “ไมมาตามนัด” จึงทําใหการกอการครั้งนั้น
ไมเปนผลสําเร็จ ซึ่งเหตุการณครั้งนั้น พล.อ. อาทิตย กําลังเอก กําลังอยูระหวางการเดินทางเยือนยุโรป
แตมีขาวลือวานายทหารหลายคนที่สนับสนุน พล.อ. อาทิตยเขาไปเกี่ยวของกับแผนการรัฐประหาร ทําให
กองทัพบกทําหนังสือปกขาวออกมาชี้แจงวา พล.อ. อาทิตยไมมีสวนเกี่ยวพันกับการรัฐประหารครั้งนั้น
แตอยางใด ทายที่สุดมีผูถูกจับกุมดําเนินคดีหลายคนรวมถึง พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน หัวหนาพรรคชาติ
ประชาธิปไตย ทําใหพรรคฯ ถอนตัวออกจากรัฐบาล และบรรดานายทหารที่พยายามรัฐประหารมีการตบเทา
เขาขอขมา พล.อ. เปรมในเวลาตอมา
ภาพที่ 3.6 : คณะนายทหารที่กอการรัฐประหารเขาขอขมาตอ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท
ที่มา : สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (2551, 200)
25 โปรดดูรายละเอียดเรื่องวิกฤตการณเงินบาทเพิ่มเติมที่ สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2551). สายธารประวัติศาสตรประชาธิปไตย
ไทย. กรุงเทพฯ: พี.เพรส., เชษฐา ทองยิ่ง. (2564). หนา 198-199.