Page 67 - kpi22228
P. 67

59



                       ภายหลังการเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี พล.อ.  เปรมตองเผชิญกับความยุงยากหลายประการ

               ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจที่ตอเนื่องมาจากรัฐบาล พล.อ. เกรียงศักดิ์ และวิกฤตทางการเมือง แมวารัฐบาล
               พล.อ. เปรมจะมีทาทีผอนปรนกับการแกไขปญหาความขัดแยงทางการเมืองอันนํามาสูนโยบาย “66/23”

               ที่มีหลักการแกปญหาความขัดแยงทางความคิดโดยใชการเมืองนําการทหาร กลาวคือการใชการเจรจา

               ในการแกปญหา ลดการใชอาวุธและใหอภัยโทษแกผูเขารวมพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย (พคท.)
                       ตอมาพรรคฝายคานนําโดยสมัคร สุนทรเวช หัวหนาพรรคประชากรไทย ยื่นญัตติขออภิปราย

               ไมไววางใจรัฐมนตรีในรัฐบาล 3 คน ประกอบดวย ชวน หลีกภัย รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ประเทือง

               กีรติบุตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย และ พล.อ. ชาติชาย ชุณหวัณ รัฐมนตรีอุตสาหกรรม
               โดยประเด็นหลักในการยื่นอภิปรายคือการแกปญหาวิกฤตการณน้ํามันผิดพลาด เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม

               2524 ภายหลังกบฏยังเติรกเพียงเดือนเศษเทานั้น แตรัฐมนตรีทั้ง 3 คนยังคงไดรับคะแนนเสียงไววางใจจาก

               สภาใหทําหนาที่ตอ
                       เนื่องจากนายสมพร จุรีมาศ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดรอยเอ็ดถึงแกกรรมในเดือนพฤษภาคม

               2524 จึงจําเปนตองมีการเลือกตั้งซอมภายใน 90 วัน โดยกําหนดการเลือกตั้งซอมที่จังหวัดรอยเอ็ดในวันที่

               9 สิงหาคม 2524 โดยฝายรัฐบาลสง พ.ต.ท. บุญเลิศ เลิศปรีชา รองหัวหนาพรรคกิจสังคม ในขณะที่
               พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทนตั้งพรรคชาติประชาธิปไตยโดยหวังจะหวนคืนสูรัฐสภา ทําใหตางฝายตองทุม

               สุดตัวในการแขงขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ กลาวกันวา พล.อ. เกรียงศักดิ์ไดทุมเงินจํานวนมากในการลงสมัคร

               รับเลือกตั้งในครั้งนั้นจนไดรับชัยชนะทําใหเกิดคําวา “โรครอยเอ็ด”
                       เกษม ศิริสัมพันธ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม ลงพื้นที่สังเกตการณการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งครั้ง

               นั้นกลาววา เห็น พล.อ. เกรียงศักดิ์เดินนําขบวนรณรงคหาเสียงตามที่ตาง ๆ ประกอบไปดวยดาราละคร

               โทรทัศน และมีคนถือกระเปากําเงินใบละ 100 บาท เดินแจกตามหลัง นอกจากนี้ยังเห็นพรรคชาติ
               ประชาธิปไตยตั้งโตะที่รานกาแฟบริเวณริมบึงพระรามเพื่อแจกเงินอยางเปดเผย ขณะที่เจาหนาที่ที่รับผิดชอบ

               ดูแลการเลือกตั้งเกรงกลัวบารมีอดีตนายกรัฐมนตรีจนถึงขั้นทิ้งศาลากลาง ที่ทําการอําเภอ กระทั่งตํารวจยัง

               ทิ้งโรงพัก จึงไมสามารถแจงความเอาผิดการทุจริตเลือกตั้งครั้งนั้นได23
                                                                       24
                       ในการศึกษาเรื่องการเลือกตั้งกับพรรคการเมืองของประจักษ กองกีรติ จําแนกวิธีการหาเสียงของไทย

               วามีเพียง 3 รูปแบบหลักเทานั้น ประกอบดวย หนึ่ง การแจกเงินหรือสิ่งของ สอง คือการใหเชิงโครงการ

               กอสรางในพื้นที่นั้น ๆ และสาม การหาเสียงที่ใหสัญญาในเชิงนโยบาย
                       ในวิธีการหาเสียงโกยการแจกเงินหรือสิ่งของที่เปนที่จดจําก็คือ “โรครอยเอ็ด” คราวที่ พล.อ. เกรียงศักดิ์

               ลงเลนการเมืองโดยที่ไมมีฐานเสียงและความนิยมทางการเมือง จึงทุมเงินในการแจกเยอะเพื่อจูงใจให

               ประชาชนเลือกตนเปนผูแทนฯ ในครั้งนั้น นอกจากนี้ประจักษยังระบุวา วิธีการหาเสียง 2 แบบแรก มักพบ
               ในชวงที่การเมืองไรเสถียรภาพและระบบพรรคการเมืองออนแอ ขณะที่การแขงขันเชิงนโยบายจะพบมากขึ้น



               24  ดูคําบอกเลาของเกษม ศิริสัมพันธ เพิ่มเติมที่ รูจักตนกําเนิดคําศัพททางการเมือง “โรครอยเอ็ด”. เขาถึงขอมูลวันที่ 1
               สิงหาคม 2564, จาก https://www.isranews.org/thaireform/thaireform-documentary/71990-roi.html
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72