Page 62 - kpi22228
P. 62
54
3.1.6 การแขงขันทางการเมืองในยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ
ในตอนหนึ่งของคําประกาศของคณะทหารที่กอการยึดอํานาจเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2520 ระบุถึง
นโยบายพัฒนาประชาธิปไตย 12 ป ไววา “...เปนเวลาที่นานเกินความจําเปน และไมสอดคลองกับ
ความตองการของประชาชน คณะทหารตํารวจและพลเรือนเห็นสมควรใหปรับปรุงระยะเวลาที่จะพัฒนา
ประชาธิปไตยเสียใหม คือ กําหนดเปาหมายใหมีการเลือกตั้งทั่วไปในป 2521...” ทั้งนี้ในคําประกาศยังระบุดวย
วาคณะรัฐประหารไมมั่นใจวา การจัดใหมีการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับเดิมของคณะปฏิรูปจะเปน
สิ่งที่ไมเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป จึงไดมีการประกาศยกเลิกธรรมนูญการปกครองฉบับเดิม
และไดประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 ซึ่งสาระสําคัญคือ
การสรางกลไกใหคณะรัฐประหารเปนผูควบคุมอํานาจ โดยในมาตรา 17 กําหนดใหมี “สภานโยบายแหงชาติ”
ที่ประกอบไปดวยบุคคลในคณะรัฐประหารดํารงตําแหนงเปนสมาชิกสภาดังกลาว จากนั้นสภานโยบายได
เสนอชื่อพล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท ใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีรักษาการ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2520
(สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 177)
การรัฐประหารในครั้งนี้มีทาทีผอนปรนมากขึ้น กลาวคือมีการประกาศเลิกใชนโยบายขวาจัดแบบ
รัฐบาลกอนหนา หันมาใหประชาชนมีสิทธิทางการเมืองมากขึ้น (บัณฑิต จันทรโรจนกิจ 2563, 135-136)
คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญไดรางรัฐธรรมนูญเสร็จเรียบรอยและประกาศใชวันที่ 22 ธันวาคม
2521 แตรัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณอยางมาก เนื่องจากเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญที่ยังคงเห็นไดชัดวา
ฝายทหารยังคงตองการรักษาอํานาจ เปนตนวา ใหสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้ง มีอํานาจมากกวา
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง โดยที่มาของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญกําหนดให
นายกรัฐมนตรีเปนผูเสนอแตงตั้งไดโดยตรง และยังกําหนดใหมีจํานวนวุฒิสมาชิกสูงสุดไมเกิน 3 ใน 4
ของสมาชิกรัฐสภาอีกดวย (มาตรา 84) แมวารัฐธรรมนูญฉบับนี้จะมีหลักการที่เปนประชาธิปไตยอยูบาง
แตในบทเฉพาะกาลระบุไววาหลักการเหลานั้นจะยังไมบังคับใชจนกระทั่งพนระยะ 4 ปแรกของการประกาศใช
รัฐธรรมนูญ) บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับป 2521 ยังระบุใหผูสมัครรับเลือกตั้งไมตองสังกัดพรรค
การเมือง (บัณฑิต จันทรโรจนกิจ 2558, 107-113) ทําใหเห็นวาเปนการเปดทางใหกับ พล.อ. เกรียงศักดิ์
คืนสูอํานาจอีก
ในสวนของการเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไดถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2522
ดวยเงื่อนไขที่ระบุไวในบทเฉพาะกาลและไมมีกฎหมายพรรคการเมือง ทําใหผูลงสมัครรับเลือกตั้ง
ตองลงแขงขันในนามกลุมการเมือง ซึ่งในการแขงขันครั้งนั้นปรากฏมีกลุมกอนการเมืองมากถึง 46 กลุม
และผูสมัครในนามอิสระอีกจํานวนมาก ผลการเลือกตั้งพบวา กลุมกิจสังคมที่นําโดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
ไดรับเลือกตั้งมากที่สุด 82 ที่นั่ง กลุมชาติไทยได 38 ที่นั่ง กลุมประชาธิปตยได 33 ที่นั่ง กลุมประชากรไทย 32
ที่นั่ง กลุมเสรีธรรมที่สนับสนุน พล.อ. เกรียงศักดิ์ 21 ที่นั่ง กลุมชาติประชาชน 13 ที่นั่ง กลุมพลังใหม 8 ที่นั่ง