Page 61 - kpi22228
P. 61

53



                       จะเห็นไดวาภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาฯ บรรยากาศทางการเมืองมีความเปนประชาธิปไตย ระบบ

               การเมืองและกลไกรัฐสภาไดกลับมาทําหนาที่อีกครั้ง ทําใหการเมืองของมวลชนและพรรคการเมืองกอรูปขึ้น
               อันเปนผลจากการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนที่เริ่มตระหนักถึงสิทธิทางการเมืองของตนและการเขาถึง

               ชีวิตที่ดี ทําใหพรรคการเมืองและนักการเมืองตองปรับตัวใหเขากับสังคมที่เปลี่ยนไป ดังที่ชี้ใหเห็นวาพรรค

               การเมืองตองสื่อสารกับประชาชนมากขึ้น ทั้งยังปรากฏใหเห็นวาพรรคการเมืองเริ่มใชแนวนโยบายแบบ
               ประชานิยมที่มุงใหประชาชนไดประโยชนมากขึ้น



                       3.1.5 การเมืองหลังเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519
                       วันที่ 8 ตุลาคม 2519 คณะปฏิรูปการปกครองแผนดินแตงตั้งนายธานินทร กรัยวิเชียร

               เปนนายกรัฐมนตรี จากนั้นไดยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2517 ยกเลิกรัฐสภา ยกเลิกการเลือกตั้งและสั่งยุบพรรค

               การเมือง ทําใหบรรยากาศทางการเมืองและประชาธิปไตยไทยตกอยูในยุคมืดอีกครั้ง
                       คณะปฏิรูปแตงตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปการปกครองแผนดินใหทําหนาที่เปนสภานิติบัญญัติที่ทํางาน

               สอดรับกันไปมา ขณะที่รัฐบาลธานินทรมิไดมีทาทีจะผลักดันใหมีการรางรัฐธรรมนูญใหม เพราะในรัฐธรรมนูญ

               ชั่วคราว 2519 ของคณะปฏิรูปไดระบุในบทเฉพาะกาลถึงแผนการที่จะใหประเทศไทยใชเวลาเปลี่ยนผานไป
               สูระบอบประชาธิปไตยนานถึง 12 ป โดยอางวาประชาชนยังไมพรอมสําหรับประชาธิปไตย (สุธาชัย

               ยิ้มประเสริฐ 2551, 170-171) จึงไดวางกรอบไว 3 ระยะ โดยในระยะ 4 ปแรก สภาปฏิรูปการปกครองแผนดิน

               มาจากการแตงตั้งจะควบคุมการบริหารราชการแผนดิน ในระยะ 4 ปตอมาจะผอนปรนใหมีประชาธิปไตย
               มากขึ้นโดยมีสภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งและมีวุฒิสภามาจากการแตงตั้ง ในระยะ 4 ปสุดทาย

               จึงจะใหอํานาจสภาผูแทนราษฎรมากขึ้นและลดอํานาจวุฒิสภาลง

                       แผนดังกลาวเชื่อวา “...ตอจากนั้น เมื่อราษฎรตระหนักในหนาที่และความรับผิดชอบของตนที่มี
                                                                                                   18
               สวนในการเมืองระบอบประชาธิปไตยดีแลว ก็อาจจะยกเลิกวุฒิสภาใหเหลือแตสภาผูแทนราษฎร” 17  ตอไป
               สะทอนใหเห็นวานี่เปนกลยุทธในการมุงรักษาอํานาจทางการเมืองในระบอบเผด็จการของคณะปฏิรูปผาน

               การอางความชอบธรรมที่จะฟนฟูระบอบประชาธิปไตยไดอยางชัดเจน
                       อยางไรก็ดี รัฐบาลนายธานินทรประสบกับความนิยมตกต่ําเนื่องจากความไรประสิทธิภาพ

               ในการบริหารและความลมเหลวในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ กระทั่งในวันที่ 20 ตุลาคม 2520 คณะทหาร

               นําโดยพล.ร.อ. สงัด ชลออยู ไดยึดอํานาจลมรัฐบาลธานินทรและยุบสภาปฏิรูป (บัณฑิต จันทรโรจนกิจ 2563,
               130-133)








               18  จาก คําปรารภ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519 อางใน สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2551).  สายธารประวัติศาสตร
               ประชาธิปไตยไทย.  กรุงเทพฯ: พี.เพรส., เชษฐา ทองยิ่ง. (2564). หนา 171.
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66