Page 57 - kpi22228
P. 57

49





                       เมื่อมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม รัฐบาลจึงเริ่มผอนคลายใหมีการเลือกตั้งโดยเริ่มจากการเลือกตั้งเทศบาล
               นครกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2511 ผลการเลือกตั้งปรากฏวา พล.ร.ต. ชลิต กุลกําธร อดีต

               สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดพระนคร ผูสมัครจากพรรคประชาธิปตยเปนผูชนะเลือกตั้งไดรับตําแหนงผูวา

               เทศบาลกรุงเทพฯ ซึ่งในปเดียวกัน ยังไดตราพระราชบัญญัติพรรคการเมืองขึ้นใหม ภายหลังการยกเลิกไปใน
               ยุคจอมพลสฤษดิ์ เพื่อใหการเมืองไทยเขาสูระบบพรรคการเมืองและเตรียมพรอมกลไกการเลือกตั้ง

               ที่จะมีขึ้นในปถัดมา

                       ฝายรัฐบาลจัดตั้งพรรคสหประชาไทย โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร เปนหัวหนาพรรค มีนายพจน
               สารสิน พล.อ. ประภาส จารุเสถียร และ พล.ต.อ. ประเสริฐ รุจิรวงศ เปนรองหัวหนา ซึ่งมีอดีต ส.ส. และบุคคล

               ตาง ๆ แยงชิงกันสมัครสมาชิกพรรคเปนจํานวนมาก สวนพรรคอื่น ๆ ที่ตั้งขึ้นใหม เชน พรรคประชาธิปตย

               พรรคประชาชน พรรคแนวรวมเศรษฐกร พรรคแรงงาน เปนตน ผลการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 10 กุมภาพันธ
               2512 นั้น พรรคสหประชาไทยได 76 ที่นั่ง พรรคประชาธิปตย 55 ที่นั่ง แนวประชาธิปไตย 7 ที่นั่ง แนวรวม

               เศรษฐกร 4 ที่นั่ง พรรคประชาชน 2 ที่นั่ง เสรีประชาธิปไตยและสัมมาชีพไดพรรคละ 1 ที่นั่ง และมี ส.ส.

               ที่ไมสังกัดพรรคการเมืองอีก 71 ที่นั่ง  (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 107)
                       พรรคสหประชาไทยและ ส.ส. ไมสังกัดพรรคจํานวนหนึ่งสนับสนุนจอมพล ถนอม กิตติขจร ทําให

               จอมพล ถนอมไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ตอมา ส.ส. ไมสังกัดพรรคก็ไดยายมาสังกัด

               พรรคสหประชาไทย ทําใหพรรครัฐบาลมีจํานวน ส.ส. เพิ่มเปน 125 คน
                       การเลือกตั้งทั่วไป 10 กุมภาพันธ 2512 นับเปนการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกภายใตระบอบทหาร

               โดยมีระยะเวลาหางจากการเลือกตั้งทั่วไปครั้งกอนเมื่อ 15 ธันวาคม 2500 หรือประมาณ 12 ป นับวาเปน

               การเลือกตั้งที่มีระยะหางระหวางกันยาวนานที่สุดในประวัติศาสตรการเมืองไทย
                       รัฐบาลจอมพล ถนอมประสบกับความยุงยากหลายประการในการบริหารประเทศ สาเหตุหนึ่งมาจาก

               ปญหาการไมลงรอยกันระหวาง ส.ส. ทั้งในพรรคสหประชาไทยและพรรครวมรัฐบาลที่มีการตอรอง

               ผลประโยชนโดยเฉพาะในการพิจารณางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2515 ที่ตองการงบพัฒนา
               จังหวัดของตนเพิ่มเพื่อแลกกับการยกมือโหวตผานรางงบประมาณของรัฐบาล อีกทั้งกลุม ส.ส. ฝายสังคมนิยม

               ที่พยายามมีบทบาทอีกครั้ง นอกจากพรรคเศรษฐกรแลวยังมีการกอตั้งพรรคสังคมประชาธิปไตย โดยมี

               พ.อ. สมคิด ศรีสังคม ส.ส. อุดรธานีเปนหัวหนา บุญเย็น วอทอง ส.ส. อุบลราชธานีเปนเลขาธิการพรรค
               ซึ่ง ส.ส. กลุมนี้เรียกรองนโยบายใหไทยรับรองสาธารณรัฐประชาชนจีนและผลักดันใหถอนฐานทัพอเมริกาออก

               จากประเทศไทย ประการตอมารัฐบาลยังตองเผชิญกับความยุงยากจากพรรคประชาธิปตยที่พยายามผลักดัน

               ใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญใน 3 ประเด็น คือ แกไขให ส.ส. สามารถเปนรัฐมนตรีได ลดอํานาจ ส.ว. และใหแยก
               ขาราชการออกเปนขาราชการประจํากับขาราชการการเมือง

                       จอมพล ถนอม แกปญหาทางการเมืองเหลานี้ดวยการรัฐประหารยึดอํานาจตัวเองในวันที่ 17

               พฤศจิกายน 2514 ในการประกาศเขายึดอํานาจระบุวา จอมพล ถนอม กิตติขจร เปนหัวหนาคณะรัฐประหาร
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62