Page 55 - kpi22228
P. 55

47



               นอกนั้นเปนพรรคเล็กและ ส.ส. ไมสังกัดพรรคการเมืองที่ไดรับเลือกตั้งมากถึง 59 ที่นั่ง ซึ่งในจํานวนนี้ทั้งหมด

               กวาครึ่งหนึ่งเปนอดีต ส.ส. จากพรรคเสรีมนังคศิลา
                       เนื่องจากไมมีพรรคใดมีเสียงเกินครึ่งของสภา พลเอก สฤษดิ์จึงใหพรรคสหภูมิเปนแกนในการรวบรวม

               เสียง ส.ส. จากฝายตาง ๆ เขารวมถึง 80 เสียง และไดตั้งพรรคใหมชื่อ “พรรคชาติสังคม” โดยมีพลเอก สฤษดิ์

               เปนหัวหนาพรรค พล.ท. ถนอม กิตติขจรและสุกิจ นิมมานเหมินทเปนรองหัวหนาพรรค พล.ท. ประภาส
               จารุเสถียร เปนเลขาธิการพรรค เพื่อจัดตั้งรัฐบาลโดยมี พล.ท. ถนอมเปนนายกรัฐมนตรี หลังจากนั้นเพียง

               ไมกี่เดือน พล.ท. ถนอมเผชิญหนากับความยุงยากในการถวงดุลปญหาความขัดแยงในพรรคชาติสังคมระหวาง

                                                                                                        15
               ส.ส. ปกที่มาจากพรรคสหภูมิเดิมกับ อดีต ส.ส. จากพรรคเสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม 14
               ในขณะที่ความนิยมของทั้งรัฐบาลและพรรคชาติสังคมลดลงเรื่อย ๆ เห็นไดจากการเลือกตั้งซอมใน 5 จังหวัด

               เดือนมีนาคม 2501 ผลการเลือกตั้งจาก 26 ที่นั่ง ปรากฏวาพรรคประชาธิปตยได 13 ที่นั่ง ขณะที่พรรคชาติ

               สังคมได 9 ที่นั่ง ผนวกกับกระแสวิพากษวิจารณการทํางานของรัฐบาลและสฤษดิ์ที่มีอิทธิพลเหนือรัฐบาล
                       ประเด็นหลักที่หนังสือพิมพโจมตีสฤษดิ์คือการที่ทหารและกองทัพเขามายุงเกี่ยวกับการเมือง

               โดยจุดยืนของสื่อไมไดมองวาทหารจะเขามาเลนการเมืองไมได แตพวกเขาเห็นวาทหารมีปญหาในการใช

               กลยุทธหรือยุทธวิธีเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจทางการเมือง เชน “ปลาทอง” คอลัมนิสตจากหนังสือพิมพสยามรัฐ
               สัปดาหวิจารณที่เสนอวา “ถาจะเลนการเมืองอยางเปดเผย ก็ควรออกมาเสียจากทหาร” นอกจากนี้ยังได

               กลาวถึงวิธีการของจอมพลสฤษดิ์ที่ทําให “การปกครองที่ทานจอมพลสฤษดิ์เรียกวาประชาธิปไตย ก็กลายเปน

               เรื่องของคนที่มีอํานาจในบานเมืองเพียงไมกี่คน” และ “วิธีการตั้งพรรคแบบนี้เปนวิธีเผด็จการโดยอาศัยพรรค
                              16
               การเมืองเทานั้น” 15  อีกดวย นอกจากนี้ในชวงกลางป 2501 มีขาววาฝายคานจะยื่นอภิปรายซักฟอกรัฐบาล
               แตเมื่อถึงเวลาพบวา ส.ส. 13 คนไดถอนตัวจากการหนุนญัตติดังกลาวในนาทีสุดทาย ซึ่งมีขาวในหนังสือพิมพ

               บงชี้ในทํานองวา ส.ส. เหลานี้ถูกสฤษดิ์ติดสินบน ขณะที่สฤษดิ์เองไดกลาวกับหนังสือพิมพวาบรรดา ส.ส.
               ที่ขอถอนตัวไปนั้นเพราะวานับถือตน ซึ่งตอมามี ส.ส. คนหนึ่งที่ถอนชื่อออกจากการซักฟอกรัฐบาลเปดเผยวา

               สฤษดิ์ขูบังคับใหกระทําการดังกลาว (ทักษ เฉลิมเตียรณ 2548, 177-178)

                       จะเห็นไดวาในการแขงขันทางการเมืองในยุคแรกจนถึงยุคการเมืองระบบพรรค นักการเมืองมิไดถูก
               กํากับดวยกฎหมายเลือกตั้งอยางที่เห็นในปจจุบัน การดําเนินการทางการเมืองเพื่อแสวงหาความนิยม คะแนน

               เสียง และการเขาถึงอํานาจทางการเมืองจึงมีวิธีการที่หลากหลาย ตั้งแตการแจกสิ่งของ การใชหัวคะแนน


               15  โปรดดูความยุงยากที่รัฐบาล พล.ท.ถนอม กิตติขจรตองเผชิญภายหลังการเขารับตําแหนงไดที่ ยอนประวัติศาสตร: เมื่อจอม
               พลสฤษดิ์ ธนะรัชต จะเปน “หัวหนาพรรคและนักการเมือง”. เขาถึงขอมูลวันที่ 8 กรกฎาคม 2564, จาก
               https://prachatai.com/journal/2018/10/79114

               16  ดูบทวิจารณของ ปลาทอง “ใครจะเปนนายกรัฐมนตรี ตอน 3” และ “ผมมีรัฐบาลใหมแลว” ตีพิมพในสยามรัฐสัปดาห
               วิจารณ ปที่ 4 ฉบับที่ 29, 30 ตามลําดับ อางใน อิทธิเดช พระเพ็ชร. 2561. ยอนประวัติศาสตร: เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต

               จะเปน “หัวหนาพรรคและนักการเมือง”. เขาถึงขอมูลวันที่ 8 กรกฎาคม 2564, จาก
               https://prachatai.com/journal/2018/10/79114
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60