Page 58 - kpi22228
P. 58

50



               พล.อ. ประภาส จารุเสถียร เปนรองหัวหนาคณะฯ มีประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ เลิกรัฐสภา ประกาศให

               พรรคการเมืองตาง ๆ สิ้นสภาพลงทันที และใหเหตุผลของการรัฐประหารวา ส.ส. ใชเสรีภาพเกินขอบเขต
               ทําใหการเมืองไทยเขาสูระบอบเผด็จการทหารเต็มรูปแบบอีกครั้ง  (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 106-109)

                       แมวาจะถูกสังคมทวงถามเรื่องการยกรางรัฐธรรมนูญบอยครั้ง แตรัฐบาลทหารก็ปฏิเสธและเลื่อน

               กําหนดการเรื่อยมา กระทั่งสํานักพระราชวังออกประกาศกําหนดการสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
               สยามมกุฎราชกุมาร ในวันที่ 28 ธันวาคม 2515 ทําใหรัฐบาลทหารตองดําเนินการใหมีธรรมนูญการปกครอง

               เพื่อใหมีคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาใหเรียบรอยกอนกําหนดการพระราชพิธีดังกลาว ในวันที่ 15 ธันวาคม 2515

               จึงประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร  (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 110-111)
                       สภานิติบัญญัติไดเลือกจอมพล ถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่งทามกลางกระแส

               ความไมพอใจของนิสิต นักศึกษา และประชาชนที่คอย ๆ กอรูปขึ้นในหวงเวลานั้น เกิดการชุมนุมของนักศึกษา

               ธรรมศาสตรเริ่มตนวันที่ 9 ตุลาคม 2516 เพื่อเรียกรองใหปลอยตัวนักศึกษาและประชาชน 13 คนที่ถูกจับกุม
               ขณะเดินแจกใบปลิวเรียกรองการประกาศใชรัฐธรรมนูญ ภายหลังเริ่มมีนิสิต นักศึกษา และประชาชนจํานวน

               มากเขารวมชุมนุม แตในที่สุดมีการปะทะกับประชาชนทําใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมากในวันที่ 14

               ตุลาคม 2516 ทําใหจอมพล ถนอม กิตติขจร ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และเปนครั้งแรกใน
               ประวัติศาสตรการเมืองไทยที่ขบวนการนักศึกษาและประชาชนสามารถตอสูกับระบอบเผด็จการทหาร

               ที่สืบเนื่องมาตั้งแตป 2501 ในยุคจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต จนมีชัยชนะทางการเมือง  (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

               2551, 125-129)
                       ระบอบปฏิวัติของจอมพลสฤษดิ์สืบเนื่องมาถึงระบอบถนอม-ประภาส เปนระยะเวลากวา 15 ป

               ที่การเมืองไทยตกอยูในยุคมืด อํานาจทางการเมืองตกอยูในมือของกลุมชนชั้นนําในกองทัพและระบบราชการ

               ในสวนสถาบันทางการเมืองอื่น ๆ อยางการเลือกตั้งและพรรคการเมืองออนแอ ไรเสถียรภาพ การเมืองภายใต
               ระบบพรรคการเมืองที่แขงขันกันอยางมีสีสันซึ่งเริ่มกอรูปในสองทศวรรษกอนหนาถูกแทนที่ดวยการเมืองของ

               การสืบทอดอํานาจของทหาร แมวาในชวงเวลาดังกลาวจะมีพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง แตก็เปนเพียง

               พรรคการเมืองเฉพาะกิจที่เกิดขึ้นภายใตเงื่อนไขของการตอรองเพื่อใหทหารไดครองอํานาจทางการเมือง


                       3.1.4 การเมืองและการเลือกตั้งหลังเหตุการณ14 ตุลาคม 2516

                       รัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนรัฐบาลรักษาการภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาฯ ประกาศวา
               จะปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยและใหเสรีภาพแกประชาชนอยางเต็มที่ ยังแสดงใหเห็นถึงความพยายาม

               จะเปนนายกรัฐมนตรีที่มีความใกลชิดกับประชาชนโดยการออกรายการโทรทัศนชื่อ “พบประชาชน”

               เพื่อสื่อสารกับประชาชนเปนระยะ ๆ (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 133)  อยางไรก็ดีรัฐบาลนายสัญญาประสบ
               ปญหาความยุงยากในการบริหารประเทศหลายดาน ปญหาหลักคือเรื่องเศรษฐกิจ และการเมืองมวลชนที่เกิด

               จากกระแสการตื่นตัวของประชาชนหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม ที่เริ่มมีการเคลื่อนไหวประทวงของประชาชนที่

               ไมไดรับความเปนธรรมจากปญหาตาง ๆ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63