Page 53 - kpi22228
P. 53

45



                                        ภาพที่ 3.4 : การปราศรัยหาเสียงของพรรคประชาธิปตย พ.ศ. 2489
                                                         ที่มา : หอภาพยนตร

                       อยางไรก็ดี การเมืองในระบบพรรคของไทยในยุคแรกมิไดใหกําเนิดวิธีการหาเสียงรูปแบบใหมเทานั้น
               แตยังเปนจุดเริ่มตนของการใสรายปายสีทางการเมืองมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตรการเมืองไทยอีกดวย

                       เนื่องจากบริบททางการเมืองในชวงเวลานั้นคือการตอสูระหวางฝายคณะราษฎรกับฝายนิยมเจาที่มี

               ความพยายามในการตอตานคณะราษฎรและฟนฟูอิทธิพลของกลุมอํานาจเกา ประกอบกับ “กรณีสวรรคตของ
               พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล” ในเชาวันที่ 9 มิถุนายน 2489 ที่เต็มไปดวยความคลุมเครือ

               เมื่อรัฐบาลนายปรีดีไมสามารถนําความกระจางมาสูสังคมไดจึงเปนประเด็นที่พรรคประชาธิปตยหยิบฉวยไป

               โจมตีฝายปรีดี ในขณะที่ฝายรัฐบาลโดยกระทรวงมหาดไทยออกคําสั่งชี้แจงมิใหราษฎรหลงเชื่อความพยายาม
               ใสรายปายสีนายปรีดีวาอยูเบื้องหลังกรณีสวรรคตของพรรคประชาธิปตย แตฝายพรรคประชาธิปตยเรียกคําสั่ง

               ฉบับนี้ของฝายรัฐบาลวาเปน “คําสั่งโบดํา” ซึ่งโจมตีวา “...เปนคําสั่งที่บังคับใหประชาชนเลือกผูสมัคร

               ฝายรัฐบาล...”
                       นอกจากนี้ฝายรัฐบาลยังเผชิญกับขอกังขาจากสังคม ในกรณีที่นายไถง สุวรรณทัต ผูสมัครจาก

               พรรคประชาธิปตย เขตธนบุรี ไดรับบาดเจ็บสาหัสจากการปาระเบิดขณะหาเสียงเลือกตั้งจนขาขาด ซึ่งเกิดขึ้น

               กอนการเลือกตั้งเพียงวันเดียว (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 59-62) แมวาไมมีขอบงชี้ชัดเจนวาเปนเรื่อง
               ที่กระทําโดยมีแรงจูงใจทางการเมืองหรือไม แตไดสะทอนใหเห็นถึงบรรยากาศความเอาจริงเอาจังในการมุงสู

               ชัยชนะและความสําคัญชี้ขาดของการเลือกตั้งในเวลานั้น

                       ตอมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเสนอรางพระราชบัญญัติพรรคการเมืองตอรัฐสภาในวันที่ 26
               กันยายน 2498 และผานการรับรองเปนกฎหมายพรรคการเมืองฉบับแรกของไทย ทั้งนี้ กฎหมายพรรค

               การเมืองเกิดขึ้นมาเพื่อรับรองสถานะพรรคการเมืองตาง ๆ ที่เริ่มเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในหวงเวลาดังกลาว

               และเพื่อรองรับการเลือกตั้งทั่วไปที่กําลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ 2500
                        มีการจัดตั้งพรรคการเมืองภายใตพระราชบัญญัติพรรคการเมืองนี้ ถึง 60 พรรค รวมถึงพรรค

               เสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. พิบูลสงครามที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อสูกับพรรคประชาธิปตยของนายควง อภัยวงศ

               นอกจากนี้ยังมีพรรคการเมืองอื่น ๆ เชน พรรคเศรษฐกร ที่เปนพรรคแนวสังคมนิยม, พรรคเสรีประชาธิปไตย,
               พรรคธรรมาธิปตย และพรรคขบวนการไฮดปารค เปนตน

                       การเลือกตั้งวันที่ 26 กุมภาพันธ 2500 เปนการตอสูกันระหวางพรรคเสรีมนังคศิลากับพรรค

               ประชาธิปตยในการชวงชิงคะแนนเสียงเพื่อยึดครองที่นั่งในสภาใหไดมากที่สุด แตพรรคการเมืองที่มีบทบาททาง
               การเมืองที่โดดเดนในสมัยนั้นอีกพรรคหนึ่งคือพรรคขบวนการไฮดปารค ที่มีนายเพทาย โชตินุชิต เปนหัวหนา

               พรรคและมีนายชวน รัตนวราหะ เปนเลขาธิการพรรค พรรคนี้กอตั้งขึ้นในหวงเวลาการเมืองสามเสาที่แขงขัน

               แยงชิงอํานาจกันอยางดุเดือดระหวางกลุมกอนทางการเมืองสามฝาย ไดแก กลุมจอมพล ป. พิบูลสงคราม
               กลุมสี่เสาเทเวศร นําโดยพลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต และกลุมซอยราชครู นําโดย พล.ต.อ. เผา ศรียานนท ซึ่งใน

               ทามกลางบรรยากาศของการชวงชิงอํานาจกันนั้นจอมพล ป. พิบูลสงครามที่เพิ่งกลับมาจากการเดินทาง
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58