Page 49 - kpi22228
P. 49
41
ภาพที่ 3.3 : โปสเตอรหาเสียงเปนของนายทองหลอ บุณยนิตยและนายชออน อําพล
ที่มา : ศิลปวัฒนธรรม
โปสเตอรหาเสียงเหลานี้คือสวนเสี้ยวสําคัญแหงยุคสมัยที่ทําหนาที่เสมือนภาพสะทอนบรรยากาศทาง
สังคมการเมืองไทยและการเลือกตั้งในยุคนั้น ทั้งยังเปนหลักฐานสําคัญที่บงชี้ใหเห็นความปรารถนาของ
นักการเมืองในระบอบใหมที่มุงหมายจะชิงชัยในสนามเลือกตั้งใหไดมาซึ่งตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
ดวยรูปแบบและวิธีการหาเสียงที่ไมมีกลยุทธที่ซับซอน สวนหนึ่งเนื่องจากกฎหมายยังไมระบุใหสังกัดพรรค
และยังไมมีการจัดตั้งพรรคการเมือง การหาเสียงจึงเนนไปที่ตัวบุคคลและคุณสมบัติเฉพาะตัวเปนสําคัญ
รูปแบบการหาเสียงจะเนนความเปนคนในทองที่นั้น ๆ ความเปนผูรับรูปญหาของคนในทองที่เปนอยางดี
มีหนาที่การงานและความรูความสามารถที่เหมาะสมกับตําแหนงผูแทนราษฎร เปนตน
ในการแขงขันทางการเมืองในยุคแรกจะเห็นไดวาผูลงสมัครรับเลือกตั้งมิไดมีกลยุทธในการหาเสียง
ที่มีลักษณะเปนการตลาดการเมืองอยางสลับซับซอนหรือเขมขนอยางปจจุบันมากนัก การหาเสียงในยุคแรกจะ
เนนไปที่ความโดดเดนในดานตาง ๆ ของตัวผูสมัครเพื่อดึงดูดความสนใจจากประชาชนผูลงคะแนน ตัวอยางกล
ยุทธหาเสียงของนายบุญเทง ทองสวัสดิ์ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ไมเคยพายแพ หรือ “สอบตก” เลยสักครั้ง
นับตั้งแตลงสนามเลือกตั้งใน พ.ศ. 2480 นายบุญเทงไดรับเลือกตั้งทุกครั้งที่ลงสมัคร ตั้งแต พ.ศ. 2480 จนถึงป
พ.ศ. 2535
นายบุญเทงอาศัยความสนิทสนมคลุกคลีกับพระและวัดมาตั้งแตเด็กจึงใชศาลาวัดเปนกองบัญชาการ
ในการหาเสียงแทนการเชาตึกหรือการเขาถึงประชาชนเจาของคะแนนเสียงดวยการเดินไปหาแบบเปนกันเอง