Page 45 - kpi22228
P. 45

37



                       อยางไรก็ดี ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2483 ขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ส.ส. ประเภทที่ 1

               จากจังหวัดอุบลราชธานี ไดยื่นญัตติแกไขรัฐธรรมนูญเพื่อยืดอายุบทเฉพาะกาลตอไปอีก 10 ป
                       ตอมา นายปรีดี พนมยงค และนายควง อภัยวงศเห็นตรงกันวาควรใหมีการยกเลิกบทเฉพาะกาล

               ที่กําหนดใหมี ส.ส. ประเภทที่ 2 รวมถึงผลักดันใหเกิดการแกไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ซึ่งเปนที่มาของรัฐธรรมนูญ

               แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 (ประกาศใชวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) ที่กําหนดใหมี 2 สภา คือ
               สภาผูแทนราษฎรและพฤฒิสภา ที่มาจากการเลือกตั้งเปนครั้งแรก และเปนจุดเริ่มตนของการออกแบบสถาบัน

               ฝายนิติบัญญัติใหมีสองสภา หรือระบบสภาคู (bicameral system) ในเวลาตอมา

                       อยางไรก็ตาม นับจากการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของประเทศในป 2476 ไปจนถึงการเลือกตั้งสมาชิก

               สภาทั้งสองประเภทพรอมกันภายใตรัฐธรรมนูญฉบับป 2489 นั้น ประเทศไทยมีการเลือกตั้งทั่วไปอีก 3 ครั้ง
               ไดแก การเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2480, พ.ศ. 2481 และ ตน พ.ศ. 2489 แมวาการเลือกตั้งในวันที่ 7 พฤศจิกายน

               พ.ศ. 2480 จะเปนการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แตการเลือกตั้งครั้ง
               นี้มีความสําคัญเพราะนับเปนการเลือกตั้งครั้งแรกที่ประชาชนสามารถเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรโดยตรง

               ผลการลงคะแนนพบวามีผูออกมาใชสิทธิเลือกตั้งคิดเปนรอยละ 40.22 ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด

               โดยจังหวัดนครนายกมีผูออกมาใชสิทธิมาที่สุดถึงรอยละ 80.5 ในขณะที่จังหวัดแมฮองสอนนอยมีผูออกมาใช
               สิทธินอยที่สุดคือรอยละ 22.24

                       ผลการออกมาใชสิทธิเลือกตั้งสะทอนใหเห็นถึงความตื่นตัวของประชาชนภายใตการเมืองระบอบใหม

               ไดอยางชัดเจน แมวาบางจังหวัดจะมีอัตราสวนของผูออกมาใชสิทธิเลือกตั้งไมถึง 1 ใน 4 ของจํานวนผูมีสิทธิ
               แตเมื่อเทียบกับจํานวนผูออกมาใชสิทธิของจังหวัดที่มีประชาชนออกมาใชสิทธิมากที่สุดแลวนับวาเปนสัดสวน

               ที่สูงไมนอยสําหรับการเริ่มตนระบอบการเมืองใหม และดวยเหตุที่วาการเลือกตั้งครั้งนี้เปนการใชสิทธิโดยตรง

               ของประชาชนเปนครั้งแรก ก็นับวามีนัยสําคัญอยางยิ่งตอการทําความเขาใจการเมืองไทยยุคแรกนี้
                       นอกจากสถิติจํานวนผูออกมาใชสิทธิเลือกตั้งแลว แผนปายหรือโปสเตอรหาเสียงของวาที่

               สมาชิกสภาผูแทนราษฎรก็ไดสะทอนภาพบรรยากาศการเลือกตั้งโดยตรงครั้งแรกของประเทศไดเปนอยางดี

               เพราะจากหลักฐานบงชี้วาในการเลือกตั้งครั้งดังกลาวที่มีลีลาการนําเสนอตัวตนของนักการเมืองในยุคสมัยนั้น
                                       4
               ไดอยางมีสีสันและนาสนใจ 3  เชน โปสเตอรหาเสียงของขุนพิเคราะหคดี (อินทร อินตะนัย) ผูแทนราษฎร
               ประเภทที่ 1 จังหวัดศรีสะเกษที่ลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งวันที่ 7 พฤศจิกายน 2480 ในโปสเตอร


               ปกครองปองกันผลประโยชนของตนเองไดบริบูรณ […] ถาราษฎรไดมีการศึกษาเพียงพอแลว ก็ยินดีที่จะปลอยใหราษฎรได
               ปกครองตนเองโดยไมจําเปนตองมีสมาชิกประเภทที่ 2 ฉะนั้น จึงวางเงื่อนไขไวขอใหเขาใจวาสมาชิกประเภทที่สองเปนเสมือน
               พี่เลี้ยงที่จะชวยประคองการงานใหดําเนินไปสมตามความมุงหมายของรัฐธรรมนูญ และเปนผูปองกันผลประโยชนอันแทจริง

               ...” ดูเพิ่มเติม พฤฒิสภา. สืบคนเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564, จาก https://parliamentmuseum.go.th/2564/ar64-
               senate.html
               4  โปสเตอร “หาเสียง” ของวาที่ ส.ส. ในการเลือกตั้งครั้งแรกของประเทศ. สืบคนเมื่อ 1 กรกฎาคม 2464, จาก

               https://www.silpa-mag.com/history/article_21341?fbclid=IwAR1uhhDCmqti1LtNR1ng-
               ZE5OR6kpQbCRR64iUJN9dIHVt7PCf3KgIHq6Xw
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50