Page 47 - kpi22228
P. 47

39



                       จะเห็นไดวาวิธีการหาเสียงของนักการเมืองในยุคแรกไมตางกับภาพที่เราไดเห็นจากนักการเมืองยุค

               สมัยปจจุบันมากนัก ไมวาจะเปนยุทธวิธีการหาเสียงดวยการใชคําขวัญเปนขอความสั้น ๆ ประกอบเนื้อความ
               บรรยายคุณสมบัติของผูสมัคร หากแตมีการบรรยายดวยตัวหนังสือยืดยาวและไมกระชับ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับสื่อที่

               นักการเมืองเลือกไปลงประกาศดวย กลาวคือนักการเมืองในยุคกอนนิยมลงโปสเตอรลงในหนังสือพิมพ

               ที่ประชาชนพลิกอานไดโดยไมเรงรีบจึงสามารถใสขอความและตัวหนังสือบรรยายความเปนตัวตนของ
               ผูลงสมัครรับเลือกตั้งไดมากกวาการใชปายหาเสียงใหญ ๆ ที่ไมเนนการบรรยายสรรพคุณของผูสมัครดวย

               ตัวหนังสือที่ฟุมเฟอยตามทองถนนที่มีการสัญจรไปมาของผูคนอยูตลอดเวลาเชนในปจจุบัน

                       นอกจากนี้ ยังมีตัวอยางจากโปสเตอรหาเสียงของนายพันตรีหลวงขจรกลางสนาม ผูสมัครรับเลือกตั้ง
               สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนครสวรรค ที่สะทอนรูปแบบการหาเสียงของนักการเมืองในยุคนั้นโดยเนน

               วิธีการชักชวนใหผูลงคะแนนใหตนโดยการบรรยายความสามารถและวิสัยทัศนดวยการพรรณนาคุณสมบัติ

               วิธีคิด และแนวนโยบายของผูสมัคร
                       ความนาสนใจของโปสเตอรหาเสียงของนายพันตรีหลวงขจรกลางสนามยังอยูที่การจัดวาง

               องคประกอบโปสเตอรหาเสียงไดสัดสวนสวยงาม ดังจะเห็นไดจากการวางธงชาติที่มีพระมหากษัตริย (รัชกาลที่

               8) ภาพพระพุทธรูป และรัฐธรรมนูญอยูใจกลางธงทั้งสามผืน แตยังคงภาพลักษณของนักการเมืองที่มาจาก
               ขาราชการทหารในเครื่องแบบ และเปนรูปถายที่เลือกใชในโปสเตอรหาเสียงที่แสดงสีหนาเรียบเฉยจริงจัง








































                                           ภาพที่ 3.2 : โปสเตอรหาเสียงของนายพันตรีหลวงขจรกลาง
                                                        ที่มา : ศิลปวัฒนธรรม
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52