Page 77 - kpi22228
P. 77

69



                       พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ ไดประคับประคองรัฐบาลมาตลอด นอกจากปญหาดานภาพลักษณที่ถูก

               กลาวหาวาเปนรัฐบาลที่ปลอยใหมีการทุจริตคอรรัปชัน จนไดรับฉายา “บุฟเฟต คารบิเน็ท” แลว รัฐบาลยัง
               ตองเผชิญปญหาการแทรกแซงทางการเมืองจากกองทัพดวยอีกทางหนึ่ง อีกทั้งยังประสบปญหาขาดเสถียรภาพ

               ที่เกิดจากการปรับคณะรัฐมนตรีบอยครั้ง ซึ่งการปรับคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2534

               และมีกําหนดการนําคณะรัฐมนตรีชุดใหมเดินทางไปเขาเฝาฯ ถวายสัตยปฏิญาณตนกอนเขารับตําแหนง
               ที่พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน พล.อ. ชาติชายและคณะถูกควบคุมตัวโดยหนวยจูโจมกองทัพอากาศ

               และถูกนํากลับมาที่บานพักรับรองของกองบัญชาการกองทัพอากาศทันที จากนั้นกองกําลังทหารจากหนวย

               ตาง ๆ เคลื่อนพลเขายึดสถานที่ราชการสําคัญ ๆ ในกรุงเทพมหานคร กระทั่งตอมาคณะทหารในนาม
               “คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.)” นําโดย พล.อ. สุนทร คงสมพงษ ผูบัญชาการทหารสูงสุด

               และ พล.อ. สุจินดา คราประยูร ผูบัญชาการทหารบก รวมกันประกาศยึดอํานาจการปกครองจากรัฐบาล

               พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ โดยอางเหตุผลในการรัฐประหาร 5 ประการ (ราชกิจจานุเบกษา 2534)  ไดแก
                       1. พฤติการณฉอราษฎรบังหลวง

                       2. ขาราชการการเมืองใชอํานาจกดขี่ขมเหงขาราชการประจําผูซื่อสัตยสุจริต

                       3. รัฐบาลเปนเผด็จการทางรัฐสภา
                       4. การทําลายสถาบันทางทหาร

                       5. การบิดเบือนคดีลมลางสถาบันพระมหากษัตริย

                       ตอมามีการประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2521 แลวประกาศใชธรรมนูญการปกครองชั่วคราว
               อยางไรก็ดีคณะ รสช.มิไดยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2524 แตอยางใด สงผลใหพรรคการเมือง

               ตาง ๆ ยังคงสภาพอยู เพียงแตหามดําเนินกิจกรรมทางการเมือง

                       คณะ รสช. ไดแตงตั้งอานันท ปนยารชุน ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีรักษาการ บริหารประเทศ
               ในขณะที่กําลังมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมภายใตการดําเนินการของสภานิติบัญญัติที่ถูกตั้งขึ้นตามมาตรา 7

               ของธรรมนูญการปกครองของ รสช. สภาดังกลาวมีสมาชิกที่มาจากการแตงตั้งโดยคณะ รสช.จํานวน 292 คน

               ประกอบไปดวยนายทหารและขาราชการเปนสวนใหญ นอกจากนี้ยังกําหนดใหสภานิติบัญญัติแตงตั้งกรรมการ
               รางรัฐธรรมนูญ 20 คน โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธเปนประธาน



                       3.1.8 การเมืองไทยกอนเหตุการณพฤษภาคม 2535
                       รัฐบาลอานันท ปนยารชุนประกอบไปดวยบุคคลที่มีภาพลักษณดี มีความรู ความสามารถ ดํารง

               ตําแหนงในคณะรัฐมนตรี และคณะ รสช. ยังสงนายทหารเขามาดํารงตําแหนงสําคัญ ๆ ในคณะรัฐมนตรี 8 คน

               (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551,223)
                       แมวารัฐบาลอานันทจะเปนรัฐบาลในระหวางที่รอการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม และทําหนาที่

               ดําเนินการจัดการเลือกตั้งทั่วไปใหเรียบรอย แตรัฐบาลอานันทกลับดําเนินนโยบายที่เห็นเปนรูปธรรม

               หลายอยาง เชน การอนุมัติสัมปทานโทรศัพท 3 ลานเลขหมาย การเก็บภาษีมูลคาเพิ่มเปนครั้งแรกจากการ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82