Page 81 - kpi22228
P. 81

73



                       3.1.9 การเมืองไทยหลังพฤษภาคม 2535 ใตแนวคิดพรรคเทพ - พรรคมาร

                       ในหวงของการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งที่กําลังมีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน 2535 มีการแบงฝงของพรรค
               การเมืองโดยสื่อมวลชนยุคนั้นออกเปนสองฝาย คือ “พรรคเทพ” ที่ประกอบดวย 4 พรรคฝายคานที่รวม

               เคลื่อนไหวตอตาน พล.อ. สุจินดา คราประยูร ไดแก พรรคประชาธิปตย พรรคความหวังใหม พรรคพลังธรรม

               และพรรคเอกภาพ กับ “พรรคมาร” คือ 5 พรรครวมรัฐบาล ไดแก พรรคสามัคคีธรรม พรรคชาติไทย
               พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย และพรรคราษฎร ซึ่งชวงกอนการเลือกตั้งในเดือนกันยายน 2535

               พรรคสามัคคีธรรมไดเปลี่ยนชื่อเปนพรรคเทิดไท โดยมีอนุวรรตน วัฒนพงศศิริ เปนหัวหนาพรรค และสมพงษ

               อมรวิวัฒน เปนเลขาธิการพรรค (นครินทร เมฆไตรรัตน 2564) ตอมากรรมการบริหารพรรคลาออกทั้งคณะ
               และผนวกเขาไปเปนสวนหนึ่งของพรรคชาติไทย

                       บรรยากาศในการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งหลังกรณีพฤษภาคม 2535 ไดรับการตอบรับจากประชาชน

               ผูมีสิทธิเลือกตั้งอยางมาก มีการแบงระหวางพรรคเทพ-พรรคมาร นับไดวาเปนการตื่นตัวทางการเมืองซึ่งเปน
               ผลสืบเนื่องของกระแสการเรียกรองนายกรัฐมนตรีตองจากการเลือกตั้งที่กอรูปขึ้นในชวงรัฐบาล พล.อ. เปรม

               ติณสูลานนทเรื่อยมา อีกทั้งการเลือกตั้งในวันที่ 13 กันยายน 2535 หรือที่นิยมเรียกวา “35/2”

               เปนการเลือกตั้งครั้งแรกภายหลังเหตุการณนองเลือด “พฤษภาฯ 35” ที่เกิดขึ้นจากการประทวงคัดคาน
               นายกรัฐมนตรีคนนอก อยางไรก็ตาม มีการหยิบฉวยประเด็นการชุมนุมประทวงมาใชเปนเครื่องมือโจมตี

               พล.ต. จําลอง ศรีเมือง แกนนําพรรคพลังธรรมวา “พาคนไปตาย” ในขณะที่พรรคประชาธิปตยรณรงคหาเสียง

               ดวยคําขวัญ “เราเคารพในระบบรัฐสภา” พรอมกับปายหาเสียงที่มีรูปของปรีดี พนมยงค และปวย อึ้งภากรณ
               (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 237)

                       ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปตยไดรับเลือก 79 ที่นั่ง พรรคชาติไทย 77 ที่นั่ง พรรคชาติพัฒนา 60

               ที่นั่ง พรรคความหวังใหม 51 ที่นั่ง พรรคพลังธรรม 47 ที่นั่ง พรรคกิจสังคม 22 ที่นั่ง พรรคเอกภาพ 8 ที่นั่ง
               พรรคเสรีธรรม 8 ที่นั่ง พรรคมวลชน 4 ที่นั่ง พรรคประชากรไทย 3 ที่นั่ง และพรรคราษฎร 1 ที่นั่ง รวมจํานวน

               ส.ส. ในสภาทั้งสิ้น 360 ที่นั่ง พรรคประชาธิปตยจึงเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาลรวมกับฝายพรรคเทพ  ซึ่งจะมีที่นั่ง

               ในสภาเพียง 185 เสียง จึงดึงพรรคกิจสังคมเขารวมดวยเปน 207 เสียง เพื่อใหรัฐบาลมีเสถียรภาพในสภาโดยมี
               เงื่อนไขวามนตรี พงษพานิช หัวหนาพรรคกิจสังคม จะไมไดรับการจัดสรรตําแหนงในคณะรัฐมนตรีแตอยางใด

               (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 238) โดยพรรครวมทั้งหมดเสนอชื่อชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี

                       รัฐบาลชวนเผชิญปญหาความขัดแยงในคณะรัฐมนตรีจนตองมีการปรับคณะรัฐมนตรีหลายครั้ง
               ซึ่งปญหาสวนใหญเกิดขึ้นจากพรรครวมรัฐบาลทั้งสิ้น ตั้งแตการปรับเอาพรรคกิจสังคมออกแลวนําพรรคเสรี

               ธรรมเขารวมรัฐบาลแทน ปญหาการขาดเสถียรภาพจากความขัดแยงภายในพรรคความหวังใหมและพรรคพลัง

               ธรรม เมื่อมีการปรับรัฐมนตรีครั้งใหญจึงปรับใหพรรคความหวังใหมออกจากรัฐบาล แลวนําพรรคชาติพัฒนา
               เขามาแทน ยิ่งไปกวานั้น รัฐบาลยังเผชิญกับปญหาเสื่อมความนิยมจากการปฏิบัติตอชาวนาที่เคลื่อนไหวชุมนุม

               ประทวงในหลายจังหวัด เพื่อเรียกรองจากการไดรับผลกระทบปญหาราคาขาวตกต่ําในป 2536 ซึ่งรัฐบาลมอง

               วาการเคลื่อนไหวดังกลาวมีนักการเมืองอยูเบื้องหลัง และสลายการชุมนุมของชาวนาที่จังหวัดกําแพงเพชร
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86