Page 84 - kpi22228
P. 84

76



                       แตถึงกระนั้นการทุมเงินในการหาเสียงผานสื่อตาง ๆ ของพรรคนําไทยและพรรคพลังธรรม กลับไม

               ประสบความสําเร็จเทาที่ควร โดยพิจารณาจากจํานวน ส.ส. ที่พรรคไดรับเลือกตั้ง คือ พรรคนําไทยได 18 ที่นั่ง
               และพรรคพลังธรรม 23 ที่นั่ง ซึ่งสวนทางกลับงบประมาณรายจายจํานวนมหาศาลที่พรรคอัดฉีดในหวงการ

               รณรงคหาเสียง ความนาสนใจคือกรณีของพรรคพลังธรรมที่แมวาจะสามารถชวงชิงคะแนนเสียงจากประชาชน

               จนไดรับชัยชนะในเขตเลือกตั้งกรุงเทพฯ ถึง 16 ที่นั่ง (ขณะที่พรรคนําไทยไมไดที่นั่งในเขตกรุงเทพฯ เลย)
                       เมื่อเทียบกับคะแนนเสียงทั่วประเทศในการเลือกตั้งครั้งกอนหนา (13 กันยายน 2535)

               พรรคพลังธรรมได ส.ส. 47 ที่นั่ง เทากับวาพรรคพลังธรรมไดจํานวน ส.ส. ทั่วประเทศไมถึงครึ่งจากคราวที่แลว

               ทั้งที่การหาเสียงในครั้งนี้มีการนําบริษัทโฆษณาที่มีชื่อเสียงเขามารวมงานอยางเต็มที่ (ภมรศรี ไพบูลยรวมศิลป
               2564) สวนทางกับพรรคชาติไทย พรรคประชาธิปตย และพรรคชาติพัฒนา ที่ใชงบประมาณรายจายใน

               การหาเสียงผานสื่อสารมวลชนรวมกันพรรคละไมถึง 15 ลานบาท แตกลับไดจํานวน ส.ส. มากกวา

                       จากผลการเลือกตั้งเปนดังที่กลาวไวขางตน ทําใหบรรหาร ศิลปอาชา หัวหนาพรรคชาติไทยไดรับ
               การเสนอชื่อเปนนายกรัฐมนตรี ตั้งรัฐบาลผสม 7 พรรค ประกอบดวย พรรคชาติไทย พรรคความหวังใหม

               พรรคกิจสังคม พรรคพลังธรรม พรรคนําไทย พรรคประชากรไทย และพรรคมวลชน ขณะที่พรรคฝายคาน

               ประกอบดวย พรรคประชาธิปตย พรรคชาติพัฒนา พรรคเสรีธรรม และพรรคเอกภาพ
                       รัฐบาลภายใตการนําของบรรหาร ศิลปอาชา เผชิญกับปญหาความขัดแยงภายในอยางหนัก

               ทั้งในพรรคชาติไทย ซึ่งเปนพรรคการเมืองใหญจึงประกอบไปดวยหลายมุงภายในพรรค เชน กลุมวังน้ําเย็น

               ของเสนาะ เทียนทอง กลุมเทิดไทของณรงค วงศวรรณ กลุมปากน้ําของวัฒนา อัศวเหม และกลุม 16
               ของสุชาติ ตันเจริญ (มติชนออนไลน 2561; นครินทร เมฆไตรรัตน 2564; ไทยรัฐออนไลน 2562ก) ที่ตางฝาย

               ตางพยายามขยายบทบาททางการเมืองภายในพรรค ประกอบกับปญหาความไมลงรอยของพรรครวมรัฐบาล

               ซึ่งสืบเนื่องจากปญหาการไมยอมรับจากชนชั้นกลางทําใหภาพลักษณรัฐบาลตกต่ําลง สวนทางกับความนิยม
               ในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หัวหนาพรรคพลังธรรม ทําใหพรรครวมรัฐบาลรวมมือกันตอตานพรรคพลังธรรม

               สงผลใหเกิดรอยราวขึ้นในพรรครวมรัฐบาลในขณะนั้นอยางมาก (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 244)

                       เสถียรภาพของรัฐบาลบรรหารถูกสั่นคลอนเมื่อฝายคานนําโดยพรรคประชาธิปตยและ
               พรรคชาติพัฒนายื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรวม 10 ตําแหนง ในเดือนพฤษภาคม

               2539 แมวารัฐบาลบรรหารจะชนะคะแนนโหวตในการอภิปรายครั้งนั้น แตปรากฏวา ส.ส. พรรคพลังธรรม

               ไมลงคะแนนใหสุชาติ ตันเจริญ ซึ่งเปนผูถูกฝายคานอภิปรายอยางหนักและไดคะแนนไววางใจนอยที่สุดเพียง
               204 เสียง ไมไววางใจ 154 เสียง จากการที่สุชาติ ตันเจริญ มีขาววาเขาไปเอี่ยวในการทุจริตกรณีธนาคาร

               กรุงเทพฯ พาณิชยการ และกรณีออกเอกสารสิทธิ นส.3ก. (มติชนออนไลน 2561ก)

                       การยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจคณะรัฐมนตรีครั้งนั้นพรรคฝายคานมุงเปาโจมตีไปที่ตัวรัฐมนตรีที่มา
               จากการเปนนักการเมืองทองถิ่น ซึ่งไมเปนที่ชื่นชมของชนชั้นกลาง กลายเปนประเด็นสําคัญในการปฏิรูป

               การเมืองในเวลาตอมา ซึ่งงานศึกษาของสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (2551, 245-246) ไดระบุถึงปฏิกิริยาที่มีตอการ

               เลือกตั้งในชวงนั้นวาเกิด
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89