Page 85 - kpi22228
P. 85

77



                              “ความรําคาญของชนชั้นนําตอนักการเมืองทองถิ่น เนื่องจากกระบวนการเลือกตั้งที่มี

                       ขึ้นหลายครั้งไดชี้ใหเห็นปญหาอยางตอเนื่องวา นักการเมืองทองถิ่นจํานวนมากใชการซื้อเสียงเขามา
                       นั่งในสภา เมื่อเปนเชนนี้ทําใหการหาเสียงตองใชเงินจํานวนมาก และเมื่อไดเปน ส.ส. แลว

                       นักการเมืองเหลานี้จึงตองใชวิธีการตาง ๆ ในการแสวงหาผลประโยชนเพื่อถอนทุนคืน กลายเปนวัฏ

                       จั         ก           ร           ชั่         ว          ร          า          ย
                       ทางการเมืองยุคใหม ทําใหการหาเสียงในตางจังหวัดตองใชเงินมากขึ้นทุกทีเมื่อมีการเลือกตั้ง

                       และทําใหรูสึกวานักการเมืองเหลานี้จะตองไมมีคุณภาพจึงถูกเรียกวา นักเลือกตั้ง การเลนการเมือง

                       ของ ส.ส. จึงดูจะกลายเปนเรื่องนารังเกียจ นอกจากนี้ ลักษณะของการเลือกตั้งเชนนี้ไมเคยทําให
                       พรรคใดไดเสียงขางมากเด็ดขาด ทําใหระบบการเมืองมีพรรคจํานวนมากเสมอ และการตั้งรัฐบาลก็

                       ตองตั้งรัฐบาลผสมทุกครั้ง”

                       ทําใหเกิดกระแสเรียกรองใหมีการปฏิรูปการเมืองเพื่อแกไขปญหาเหลานี้จากหลายฝายในสังคม
               ซึ่งพรรคชาติไทยนําขอเรียกรองเหลานี้มาปฏิบัติใหเปนรูปธรรมโดยการผลักดันใหเกิดการยกรางแกไข

               รัฐธรรมนูญใหมทั้งฉบับในเวลาตอมา

                       แมวารัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา จะผลักดันใหเกิดการแกไขรัฐธรรมนูญใหมทั้งฉบับเพื่อปฏิรูประบบ
               การเมืองใหเปนประชาธิปไตยมากขึ้น แตความนิยมกลับเสื่อมลงอยางรวดเร็วเนื่องจากรัฐบาลไมสามารถแกไข

               ปญหาเศรษฐกิจภายในประเทศที่ชะลอตัวลงภายหลังการเติบโตมาตลอดในหวงหลายปกอนหนา ประกอบกับ

               หนี้สินของประเทศพุงสูงขึ้นอยางมาก ทั้งนี้ การที่บรรหาร ศิลปอาชาเปนผูดูแลรับผิดชอบนโยบายเศรษฐกิจยิ่ง
               ทําใหภาพลักษณของนายบรรหารยิ่งตกต่ําลงเรื่อย ๆ กระทั่งมีขาววากัญจนา ศิลปอาชา ลูกสาวนายบรรหาร

               เขาไปมีสวนทุจริตในกรณีการขายที่ดินใหกระทรวงการคลังดวยราคาสูงกวาปกติและเสียภาษีไมครบถวน

               (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 246) ทําใหพรรคฝายคานนําโดยพรรคประชาธิปตยยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจ
               นายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียว ระหวางวันที่ 18 - 20 กันยายน 2539 ซึ่งเปนการอภิปรายไมไววางใจ

               ที่เปนการอภิปรายนายกรัฐมนตรีที่มีการกลาวหารุนแรงที่สุดครั้งหนึ่ง (workpointTODAY 2563)

                       แมนายบรรหาร ศิลปอาชาจะไดรับคะแนนเสียงไววางใจจาก ส.ส. พรรครวมรัฐบาลแตก็แลกดวย
               เงื่อนไขที่วา นายกรัฐมนตรีตองลาออกภายใน 7 วัน ขอเสนอดังกลาวมาจากการตกลงรวมกันของพรรค

               รวมรัฐบาลคือ พรรคความหวังใหม พรรคกิจสังคม พรรคนําไทย และพรรคมวลชน ความนาสนใจคือกลุมคลื่น

               ใตน้ําในพรรคชาติไทย ประกอบดวย กลุมปากน้ํา กลุมเทิดไท และกลุมวังน้ําเย็น ยังมีทาทีสอดรับกับขอเสนอ
               ของพรรครวมรัฐบาลอีกดวย โดยเฉพาะกลุมวังน้ําเย็น นําโดย เสนาะ เทียนทองที่รับตําแหนงเปน

               ผูประสานงานระหวางนักการเมืองกลุมตาง ๆ เพื่อเสนอชื่อ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เปนผูดํารงตําแหนง

               นายกรัฐมนตรี (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 246) นายบรรหารกลับไมยอมลาออกจากตําแหนงตามที่ไดตกลง
               กัน แตประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผูแทนราษฎรในวันที่ 27 กันยายน 2539 และกําหนดใหมีการเลือกตั้ง

               ทั่วไปวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 สรางความไมพอใจอยางมากใหกับนักการเมืองหลายฝาย โดยเฉพาะแกนนํา

               คนสําคัญในพรรคชาติไทยเนื่องจากนายบรรหารไมไดขอคําปรึกษาหรือบอกกลาวใหสมาชิกพรรครูลวงหนา
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90