Page 90 - kpi22228
P. 90

82



               วันมูหะหมัดนอร มะทา เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม สมคิด จาตุศรีพิทักษ เปนรัฐมนตรีวาการ

               กระทรวงการคลัง วราเทพ รัตนากร เปนรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ
               เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พงศเทพ เทพกาญจนา เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม สุร

               เกียรติ เสถียรไทย เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ชูชีพ หาญสวัสดิ์ เปนรัฐมนตรีวาการ

               กระทรวงเกษตรและสหกรณ สุริยะ จึงรุงเรืองกิจ เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม สุดารัตน เกยุรา
               พันธุ เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข สนธยา คุณปลื้ม เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร

               เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เปนตน

                       การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 เปนการเลือกตั้ง ส.ส. ครั้งแรกในระบบการคิดคะแนน
               แบบใหมตามรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 ซึ่งกําหนดให ส.ส. จากการเลือกตั้งแบบแบงเขตจํานวน 400 คน และ

               แบบระบบบัญชีรายชื่อ 100 คน รวม 500 คน ภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

               (กกต.) เปนครั้งแรก อีกทั้งยังเปนการเลือกตั้งครั้งแรกที่จะไมมีการประกาศรับรองผลเลือกตั้งหากมีกรณีที่
               ผูสมัครถูกรองเรียนวาทุจริต จนกวากระบวนการพิจารณาเรื่องรองเรียนจะเสร็จสิ้น หรือตองจัดใหมีการ

               เลือกตั้งซอมใหแลวเสร็จกอนในกรณีที่ผูสมัครกระทําการทุจริตจริงตามที่ถูกรองเรียน























                        ภาพที่ 3.10 : พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรและผูรวมกอตั้งพรรคไทยรักไทย เขายื่นหนังสือจดทะเบียนพรรค
                                                  เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2544

                                                        ที่มา : ไทยโพสต 2562

                       ภายหลังการเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรใหความสําคัญกับการฟนฟูเศรษฐกิจ

               ของประเทศที่อยูในสภาวะหดตัวจากวิกฤตตมยํากุง จึงกําหนดใหการกระตุนเศรษฐกิจเปนนโยบายเรงดวน

               ของรัฐบาล ภายใตกลยุทธ “ลดรายจาย เพิ่มรายได ขยายโอกาส” ใหกับประชาชนระดับรากฐานเพื่อสราง
               อํานาจซื้อภายในประเทศ ควบคูไปกับการผลักดันการสงออกของประเทศเพื่อใหเศรษฐกิจขยายตัวและ

               มีเม็ดเงินไหลเขาสูระบบเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น (ชาติชาย มุกสง 2564) นอกจากนี้ยังออกมาตรการ

               กระตุนเศรษฐกิจและโครงการชวยเหลือประชาชนที่ประสบความสําเร็จอยางเปนรูปธรรมอีกหลายโครงการ
               เชน การพักชําระหนี้เกษตรกรรายยอย จัดตั้งกองทุนหมูบาน นโยบายหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (หรือ OTOP)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95