Page 80 - kpi22228
P. 80

72






















                                       ภาพที่ 3.7 : ประชาชนชุมนุมประทวง บริเวณลานพระบรมรูปทรงมา

                                                  ที่มา : สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 229)


                       ตอมา พล.ต. จําลอง ศรีเมือง หัวหนาพรรคพลังธรรม เขารวมการประทวงเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม
               2535 โดย คัดคานการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ พล.อ. สุจินดา และเรียกรองใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญ

               ใหเปนประชาธิปไตย ทั้งยังประกาศวาจะยุติการชุมนุมทันที ถา พล.อ. สุจินดาประกาศลงสมัครเลือกตั้งเพื่อมา

               เปนนายกรัฐมนตรี
                       พรรครวมรัฐบาลแถลงวา จะผลักดันใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญใน 2 ประเด็น คือ นายกรัฐมนตรีตอง

               มาจากการเลือกตั้ง และกําหนดใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ตอมา อาทิตย อุไรรัตน

               ประธานสภาผูแทนราษฎร แถลงวาพรรครัฐบาลรับหลักการเรื่องการแกไขรัฐธรรมนูญ ทําให พล.ต. จําลอง
               ประกาศยุติการชุมนุมชั่วคราวในคืนวันที่ 10 พฤษภาคม พรอมประกาศวาจะกลับมาชุมนุมอีกครั้งภายใน

               7 วัน แตพรรครัฐบาลกลับแสดงทาทีที่เปลี่ยนไป บรรหาร ศิลปอาชา เลขาธิการพรรคชาติไทย และมนตรี

               พงษพานิช หัวหนาพรรคกิจสังคม ประสานเสียงกันแสดงทาทีวาตองหารือกันภายในพรรคกอน สงผลใหญัตติ
               เสนอแกไขรัฐธรรมนูญเขาที่ประชุมไมทันตามกําหนดเดิมคือ 15 พฤษภาคม 2535 ขณะที่ประชาชน

               ฝายตอตานรัฐบาลกลับมาชุมนุมใหญอีกครั้ง (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 232 - 233)

                       สถานการณทวีความรุนแรงขึ้นในชวงกลางดึกของคืนวันที่ 17 พฤษภาคม เกิดการปะทะกับ
               ฝายเจาหนาที่จนเหตุการณลุกลามบานปลายถึงขั้นนองเลือด และมีการจัดชุมนุมขึ้นอีกหลายแหงทั่วประเทศ

               ตอมามีการตราพระราชกําหนดนิรโทษกรรมใหกับทุกฝาย ในที่สุด พล.อ. สุจินดา คราประยูร ประกาศลาออก

               จากตําแหนงนายกรัฐมนตรีความตึงเครียดทางการเมืองจึงคลี่คลายลงในที่สุด
                       พรรครวมรัฐบาล 5 พรรคเสนอชื่อ พล.อ. อ.สมบุญ ระหงษ  หัวหนาพรรคชาติไทย เปนนายกรัฐมนตรี

               คนตอไป แตอาทิตย อุไรรัตน ประธานสภาผูแทนราษฎร ไดนําชื่ออานันท ปนยารชุน ขึ้นทูลเกลาฯ และ

               ไดรับการโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหเปนนายกรัฐมนตรีในวันที่ 10 มิถุนายน 2535 และประกาศพระราชกฤษฎีกา
               ยุบสภาผูแทนราษฎร โดยกําหนดใหมีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน 2535
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85