Page 78 - kpi22228
P. 78

70



               ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ การลดภาษีนําเขารถยนต เปนตน มีขอสังเกตวารัฐบาลอานันทมิไดดําเนินการ

               ตามความตองการของฝายทหาร เชน กรณี พล.อ. อิสระพงศ หนุนภักดี รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
               ของบประมาณเพื่อนําไปใชในโครงการเผยแพรประชาธิปไตยจํานวน 1,000 ลานบาท แตคณะรัฐมนตรีตัดให

               เหลือ 400 ลานเทานั้น หรือการระงับขอเสนอจากกระทรวงมหาดไทยที่ใหกํานันและผูใหญบานมาจากการ

               แตงตั้งจากระบบราชการ นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีของอานันทยังตัดงบซื้ออาวุธเพิ่มของกระทรวงกลาโหมอีก
               ดวย แตรัฐบาลอานันทก็ถูกวิจารณเรื่องการไมใหความสําคัญกับการแกปญหาของชนชั้นลางเทาที่ควร และ

               ดวยภาพลักษณของอานันทที่เปนคนมีการศึกษาสูง สุภาพ สุขุม ประกอบกับแนวนโยบายที่ถูกใจคนชนชั้น

               กลาง (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 223-224)
                       ในเดือนสิงหาคม 2534 รางรัฐธรรมนูญฉบับใหมไดถูกบรรจุเขาสูวาระกระบวนการพิจารณาของ

               สภานิติบัญญัติ ซึ่งถูกวิพากษวิจารณวา เปนรัฐธรรมนูญที่ออกแบบมาเพื่อเอื้อตอการสืบทอดอํานาจของคณะ

               ทหาร ในสวนของการเลือกตั้งไดกําหนดวิธีการเลือกตั้งแบบพวงใหญ กลาวคือเลือกเบอรเดียวยกเขต 3 คน
               โดยใหคณะกรรมการรัฐธรรมนูญมีหนาที่รับผิดชอบดูแลการจัดการเลือกตั้ง นอกจากนี้ ในรางรัฐธรรมนูญ

               ยังเปดทางใหนายกรัฐมนตรีไมตองมาจากการเลือกตั้งอีกดวย สงผลใหองคกรฝายประชาธิปไตยตางออกมา

               คัดคานรางรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยเฉพาะประเด็น “นายกฯ คนนอก” ที่ชัดเจนวาเปนการปูทางใหกับ
               นายทหารใน รสช.มานั่งตําแหนงนายกรัฐมนตรี (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2551, 225) ตอมาในเดือนพฤศจิกายน

               2534 สภานิติบัญญัติมีการพิจารณารางรัฐธรรมนูญในวาระที่สอง และไดมีการปรับปรุงแกไขบทบัญญัติตาง ๆ

               ที่ถูกคัดคานจากสังคมหลายมาตรา แตยังคงไวในบทบัญญัติที่ขยายบทบาททางการเมืองใหแกคณะทหาร รสช.
               อยูหลายมาตรา โดยเฉพาะอยางยิ่งการคงไวซึ่งหลักการที่เปดทางใหนายกรัฐมนตรีไมตองมาจากการเลือกตั้ง

               ดวยเหตุนี้จึงเกิดการชุมนุมประทวงตอตานครั้งใหญที่ลานโพธิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และในอีกหลาย

               จังหวัด ทําให พล.อ. สุจินดา คราประยูร และ พล.อ.อ. เกษตร โรจนนิลออกมาใหสัตยปฏิญาณวา จะไมมี
               นายทหารคนใดในคณะ รสช.เขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรีแนนอน ในที่สุดรางรัฐธรรมนูญผานวาระสามไปได

               ดวยคะแนน 262 ตอ 7 เสียง

                       รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 จึงถูกประกาศใชในวันที่ 9 ธันวาคม 2534 (บัณฑิต
               จันทรโรจนกิจ 2558, 113-115) บรรดาพรรคการเมืองตาง ๆ จึงปรับตัวเขาสูการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง

               ที่จะเกิดขึ้นในเดือนมีนาคม 2535 มีพรรคสามัคคีธรรมซึ่งเปนพรรคที่รวบรวมนักการเมืองจากหลายพรรคไว

               ดวยกันโดยมีณรงค วงศวรรณ อดีตหัวหนาพรรครวมไทย เปนหัวหนาพรรค และมี น.ต. ฐิติ นาครทรรพ
               ผูใกลชิดของ พล.อ.อ. เกษตร โรจนนิล เปนเลขาธิการพรรค พล.อ. อาทิตย กําลังเอก เปนประธานที่ปรึกษา

               พรรคอีกดวย ดวยเหตุที่พรรคสามัคคีธรรมจึงถูกมองวาตั้งขึ้นเพื่อสืบทอดอํานาจการเมืองใหกับคณะ รสช.

                       ในขณะที่ พรรคชาติไทยตัดสินใจเลือก พล.อ. อ.สมบุญ ระหงส ดํารงตําแหนงหัวหนาพรรคแทน
               พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ ที่ลาออกไปกอนหนานี้ ซึ่ง พล.อ.อ. สมบุญมีความสนิทสนมกับ พล.อ.อ. เกษตร

               โรจนนิล ทําให พล.อ. สมบุญจึงเปนสื่อกลางระหวางพรรคชาติไทยและนายทหารคณะ รสช. ทางดานที่ประชุม

               พรรคกิจสังคมไดเลือกให พล.ท. เขษม ไกรสรรณ นายทหารรวมรุนกับ พล.อ. สุจินดา คราประยูร เขาดํารง
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83