Page 34 - kpi22228
P. 34

26



               การแกไขปญหา มีการจัดการปญหาในเรื่องของการสงมอบ และตลอดชวงระยะเวลาที่มีการสื่อสารจะ

               ตองมีการรายงานผลของความสําเร็จและความกาวหนาของงานที่ไดไปสัญญาไว การนําเสนอสิ่งที่ประสบ
               ความสําเร็จไดอยางรวดเร็ว (quick win solution) การสงมอบหรือสงคืนขอมูลในนามของปจเจกบุคคล เปนตน

                       สวนองคประกอบดานตาง ๆ ของการตลาดทางการเมืองจากเรื่องของ การวิจัย การกําหนดกลยุทธ

               การบริหารจัดการ และการสื่อสารแลว ตองเปนสวนประกอบที่มีความเกี่ยวพันเชื่อมโยงและสรางอิทธิพล
               ตอกันและกัน การแบงแยกองคประกอบทางการตลาดอาจจะเกิดขึ้นภายใตการวิจัยทางการตลาด และ

               จะนําไปใชเพื่อที่จะเปนขอมูลในการสื่อสาร การพัฒนากลยุทธผลิตภัณฑ และการจัดทําขอมูลผูมีสิทธิ

               ออกเสียงเลือกตั้งในการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง เพื่อที่จะใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การตลาดทางการเมือง
               ไมใชเปนเรื่องที่จะหยิบเอาเครื่องมือเล็ก ๆ นอย ๆ ในทางการตลาดมาใชเทานั้น แตมันหมายถึงกรอบ

               โครงสรางใหญของกิจกรรมที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ซึ่งนักการเมืองจะสามารถนํามาใชเพื่อใหประสบ

               ผลสําเร็จในหนทางที่พวกเขาตองการ


               2.6 ขอบขายของยุทธวิธีการตลาดการเมือง (Approaches of Political Marketing Strategy)

                       2.6.1 การตลาดทางการเมืองในฐานะการขาย (Political Marketing as Selling)

                       การตลาดทางการเมืองในฐานะการขาย มักจะเปนความเขาใจแรกเริ่มหรือเปนความเขาใจที่ผูคน
               สวนใหญมองวามันคือการตลาดทางการเมือง เพราะการขายใชเครื่องมือเดียวกับการตลาดคือการทําการวิจัย

               ตลาดเพื่อที่จะทดสอบวา ขอมูลหรือสื่อใดที่เหมาะสมที่จะนําเสนอใหกับผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งใหพวกเขามา

               สนับสนุนนโยบายของพรรคการเมืองหรือสนับสนุนนักการเมืองคนใดคนหนึ่ง เมื่อพูดเรื่องการขายจึงไมไดเนน
               ในเรื่องของผลิตภัณฑที่จะนํามาขายเทาไหรแตจะเนนวาผลิตภัณฑดังกลาวจะถูกนําไปขายไดอยางไร

                       การนําการเมืองไปขายมีอยูหลากหลายวิธี เชนการชักจูงใจซึ่งเปนวิธีการสื่อสารที่มักจะเปนที่นิยม
               หรืออาจไปถึงเรื่องของการสรางความสัมพันธระยะยาวในเชิงบวกกับผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งแมวาในบาง

               กรณีผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งจะไมพึงพอใจในกิจกรรมหรือนโยบายบางประการของผูนําทางการเมืองก็ตามที


                       2.6.2 การตลาดทางการเมืองในฐานะการแลกเปลี่ยนสินคา (Political Marketing as a

               product-based transaction strategy)

                       ผูนําทางการเมืองมักจะใชเครื่องมือการวิจัยทางการตลาดกอนที่จะมาออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ
               ทางการเมืองหรือตราสัญลักษณทางการเมืองเพื่อที่จะทําใหตรงความตองการของผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

               มากที่สุด ซึ่งหมายความวาผูนําทางการเมืองจะตองเขาไปรับฟงผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งกอนที่จะทํานโยบาย

               หรือพัฒนาแนวทางในการหาเสียงเลือกตั้งออกมา สิ่งนี้เรียกวาการมุงเนนการตลาด (Market Orientation)
               หมายถึง การมุงเนนลูกคา การมุงเนนคูแขงขันและการมุงเนนประสานความรวมมือในการดําเนินงาน เพื่อให

               บรรลุเปาหมายตามความตองการของลูกคา จุดเนนของการทําการตลาดทางการเมืองในแนวนี้ก็คือ

               ยุทธศาสตรในการเขาไปนั่งในใจของลูกคา ทราบวาผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งชอบอะไร ตองการอะไร
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39