Page 38 - kpi22228
P. 38

30



                      2.7.3 พรรคการเมืองที่เนนตลาด

                       พรรคการเมืองในกลุมนี้มีลักษณะยอยสองลักษณะ ไดแกพรรคการเมืองที่เนนการตลาดผานการสราง
               อนาคตรวมกัน กับพรรคการเมืองที่สรางตลาดเฉพาะทางหรือตลาดเฉพาะกลุม

                       พรรคการเมืองที่เนนตลาด มุงเนนที่ความตองการของตลาดเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้งจะมี

               กระบวนการการตลาดการเมือง ดังนี้
                      1. พรรคการเมืองมุงจะทําความเขาใจและนําเสนอตอบสนองความตองการของตลาด พรรคจะ

                      พยายามลงถึงระดับรากหญาอยางไมเปนทางการ สื่อสารกับสมาชิกพรรค สรางกลุมทางนโยบายและ

                      ทําการประชุม ในดานที่เปนทางการนั้น พรรคการเมืองใชวิธีการ เชน การสํารวจความคิดเห็น
                      การประชุมกลุมยอย การแบงสัดสวนการตลาด เพื่อทําความเขาใจความเห็นและพฤติกรรมของตลาด

                      ตลอดจนคนทั่ว ๆ ไป บุคคลที่มีอิทธิพลตอความเห็นสาธารณะ ส.ส. และสมาชิกพรรค พรรคจะใช

                      การสํารวจตลาดอยางตอเนื่องและพิจารณาวามีความตองการในระยะสั้น, ระยะยาวอยางไร
                      2. ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบผลิตภัณฑ พรรคการเมืองจะออกแบบ “ผลิตภัณฑ” เพื่อสนองตอบตอ

                      ขอคนพบในตลาดที่ไดทําการสํารวจไว โดยปรับใหเหมาะสมตอปจจัยตาง ๆ ที่จะสํารวจในขั้นตอนที่ 3

                      3. การปรับปรุงผลิตภัณฑ พรรคการเมืองจะปรับปรุงผลิตภัณฑ โดยคํานึงถึงหลัก 4 ประการ ดังนี้
                              ก)   Achievability: ความสามารถในการบรรลุได เพื่อประกันวาคําสัญญาตาง ๆ สามารถสง

                              ถึงรัฐบาล รวมถึงปจจัยอื่น ๆ เชน ความ (เปน?) ผูนําทีม การจัดการทางเศรษฐกิจ

                              ขีดความสามารถ หนวยงานของพรรคการเมือง ความรับรูของผูมีสิทธิเลือกตั้งวาพรรค
                              สามารถสงผลกระทบทางนโยบายตามที่พวกเขาตองการ

                              ข)    Internal Reaction: ปฏิกิริยาภายใน เพื่อประกันความเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นจากการ

                              ใชนโยบายซึ่งบรรดาผูแทนจากพรรคและสมาชิกพรรคจะนําไปใชกําหนดนโยบาย
                              การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายจะตองเกิดภายในหรือมีกรอบอางอิงกับนโยบายของพรรค

                              ดั้งเดิมเสมอ ในประเด็นนี้มีความซับซอนแตจําเปนในการสรางสมดุลระหวางความตองการ

                              จากผูสนับสนุนพรรคทั้งภายในและภายนอก ผลก็คือการทําตลาดภายใน (internal
                              marketing) และนําเอาแนวคิดคลาย ๆ กันไปใชในสาธารณะทั่วไป กับคนที่อยูภายในพรรค

                              ค)   Competition: การแขงขัน เปนการระบุจุดออนของฝายตรงขาม และเนนใหเห็น

                              จุดแข็งโดยเปรียบเทียบของพรรค
                              ง)   Support: การสนับสนุน การแบงตลาดเปนสวนตาง ๆ เพื่อจะระบุตัวผูมีสิทธิเลือกตั้งที่

                              ยังไมมีสวนเชื่อมโยงกับพรรค ซึ่งเปนสิ่งที่จําเปนตอการบรรลุเปาหมาย จากนั้นพัฒนา

                              ผลิตภัณฑที่ตรงกับความตองการของกลุมดังกลาว ในกรณีนี้ พรรคการเมืองไมจําเปนจะตอง
                              ไดคะแนนเสียงทุกคะแนน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43