Page 39 - kpi22228
P. 39

31



                      4. การนําเอามาตรการตาง ๆ ไปใช (Implementation) เมื่อความเปลี่ยนแปลงในระดับตาง ๆ ทั่วทั้ง

                      พรรค จึงจําเปนตองมีการบริหารพรรคอยางระมัดระวังและมีความเปนผูนํา ในกรอบระยะเวลาที่
                      เหมาะสม เพื่อจะไดรับการยอมรับในการสรางความเปนเอกภาพของพรรค และความกระตือรือรนที่

                      จะเห็นพรรคในรูปแบบใหม

                      5. การสื่อสาร (Communication) จะตองมีการสื่อสารที่ดีเพื่อสงสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหมกับผู
                      ลงคะแนนเสียง เพื่อพวกเขาจะไดรูจักและเขาใจกอนการเลือกตั้งครั้งถัดไป ทั้งหัวหนาพรรค ผูสมัคร

                      ในนามพรรค และตัวแทนของพรรคในสภาฯ จะตองสื่อสารกับผูมีสิทธิเลือกตั้ง ทั้งยังตองทําการ

                      สื่อสารกับสื่อมวลชน อีกทั้งขาวสารยังตองชัดเจน ใหขอมูลรอบดาน
                      6. การรณรงคหาเสียง (Campaign) พรรคการเมืองย้ําขาวสารและการสื่อสารในการรณรงคการ

                      เลือกตั้ง ทั้งตอกย้ําขาวสารสําคัญ เชน นโยบายหลัก ขาวสารหลัก ตลอดจนขอไดเปรียบของ

                      ผลิตภัณฑของพวกเขา
                      7. การเลือกตั้ง (Election) ในการไดชัยชนะจากการเลือกตั้ง ไมควรเปนเปาหมายหลักประการเดียว

                      เพราะพรรคควรจะสรางแรงดึงดูด และทัศนคติเชิงบวกจากผูมีสิทธิเลือกตั้งที่มีตอนโยบาย ผูนําพรรค

                      ความเปนเอกภาพของพรรค เชนเดียวกับคุณภาพของสมาชิกพรรค
                      8. การสงมอบ (Delivery) พรรคจะตองสงผลิตภัณฑ ไดแก ส.ส. และนโยบายใหเขาไปมีบทบาทในรัฐบาล



                              1) พรรคการเมืองที่เนนการตลาดผานการสรางอนาคตรวมกัน
                                     ถึงแมวาแนวทางการสรางอนาคตรวมกันจะเปนเครื่องมือทางการวิจัยตลาด

                              (market research tool) แบบหนึ่ง แตผูวิจัยพบวาการสรางอนาคตรวมกันกลายเปน

                              เครื่องมือในการสรางตัวตนและเอกลักษณทางการเมืองไทย (ซึ่งจะไดอธิบายตอไปในบทที่วา
                              ดวยพรรคการเมืองไทยกับการใชการสรางอนาคตรวมกันโดยเฉพาะพรรคอนาคตใหม)

                                  พรรคการเมืองที่เนนการตลาดผานการสรางอนาคต จะมีกระบวนการดังนี้ (Roy

                              Langmaid 2012, 64-65)
                                     1. แนวคิดการสรางพรรคแบบสรางอนาคตรวมกัน (co-creating future)

                                       การสรางอนาคตเปนกระบวนการสําคัญสําหรับพรรคการเมืองแบบใหมที่มองขาม

                              ทั้งตัวตลาดและผลิตภัณฑ แตลงมาจัดระดับความสัมพันธแนวระนาบมากขึ้น เพื่อใหผูมีสิทธิ
                              เลือกตั้งไดกําหนดทิศทางในอนาคตที่ตัวเองตองการ ดังนั้น ผูเขารวมกระบวนการสรางอนาคต

                              รวมกันจะผูกพันกับพรรคมากกวาแนวทางพรรคการเมืองแบบอื่น

                                     2. การเชื้อเชิญ และเขารวม
                                     การเชื้อเชิญเพื่อใหผูคนเขารวมกําหนดอนาคตของตัวเองเปนกลไกในการเปดรับ

                              ผูเขารวมและวางแนวทางของฐานเสียงในอนาคตไปพรอม ๆ กัน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44