Page 197 - kpi22173
P. 197

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ที่มีระดับการศึกษาที่ต่ํากวาและกลุมคนที่มีรายไดสูงมากๆ มีความคาดหวังในชีวิตลดลงมากโดย

                  เปรียบเทียบกับกลุมคนที่มีรายไดต่ํากวา


                             นอกจากนั้น ปจจัยที่มิอาจละทิ้งไมนํามาพิจารณาคือ การบริหารจัดการในสถานการณวิกฤติ

                  ซึ่งการแพรระบาดของโรค COVID-19 ถือวาเปนวิกฤติการณหนึ่งที่ทุกประเทศทั่วโลกหวั่นเกรงและเฝา
                  ระวังหาวิธีบริหารจัดการในบริบทเฉพาะ  ในสวนของประเทศไทยภายใตการบริหารของรัฐบาลเผด็จการที่

                  นําโดยทหาร ทําใหรูปแบบการบริหารจัดการของไทยมีลักษณะผิดแผกกับประเทศอื่นๆ ทั้งในกลุมประเทศ

                  เผด็จการดวยกันเองและในเชิงเปรียบเทียบกับประเทศประชาธิปไตย เชน งานเขียนของ San et al.
                  (2020) ศึกษาการจัดการในภาวะวิกฤติในระบอบเผด็จการอํานาจนิยม โดยศึกษาเปรียบเทียบการ

                  สนองตอบตอการแพรระบาดโรค COVID-19 ในประเทศตุรกีและอิหราน ผลการวิจัยชี้ใหเห็นวาระบอบ

                  เผด็จการอํานาจนิยมในแตละประเทศอาจตอบสนองและจัดการกับวิกฤติการณที่แตกตางกัน จากการ

                  การศึกษาเปรียบเทียบระหวางประเทศทั้งสองไมสามารถกลาวไดวาระบอบเผด็จการโดยพฤตินัยสามารถ

                  จัดการวิกฤติการณไดดีไปกวาระบอบอื่นๆ แตอยางใด โดยระบอบเผด็จการในบางกรณียังเปดโอกาสให
                  นักการเมืองฝายคานมีบทบาทและมีพื้นที่มากขึ้นในการออกแบบและดําเนินนโยบายดานสาธารณสุข

                  รวมไปถึงการเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจของผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานในระบบราชการที่ผลักดันการ

                  ดําเนินนโยบายตามแนวทางวิทยาศาสตรเพื่อจัดการกับวิกฤติการณซึ่งมีแนวโนมเขามามีอํานาจมากขึ้นและ
                  ดูเหมือนวาจะสามารถจัดการสถานการณวิกฤติไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาระบอบเผด็จการอํานาจ

                  นิยมเสียเอง ในระยะยาวอาจเปนภัยคุกคามความอยูรอดทางการเมืองและเศรษฐกิจของฝายรัฐบาลใน

                  อนาคตได


                             งานวิจัยชิ้นนี้มุงไปที่บทบาทสตรี อสม. ในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อปองกัน
                  เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม

                  ใหความสําคัญกับการเสริมสรางบทบาทสตรีในการพัฒนาและการบริหารจัดการชุมชนตนเองในประเด็นของ

                  การดูแลสุขภาพของชุมชน ซึ่งผูวิจัยเห็นบทบาทสตรีไทยเพิ่มมากขึ้น เชนเดียวกับงานวิจัยบทบาทสตรีใน
                  ตางประเทศของ Suwongrat Papangkorn, Pattanaporn Chatjuthamard, Sirisak Chueykamhang

                  และ Pornsit Jiraporn แหงมหาวิทยาลัย Penn State ประเทศสหรัฐอเมริกา (2019) พบวา บริษัทที่มี

                  สัดสวนกรรมการบริหารที่เปนหญิงสูงกวาจะมีผลประกอบการของบริษัทสูงกวาบริษัทที่มีกรรมการบริหาร

                  ที่เปนชาย ซึ่งสะทอนภาวะความเปนผูนําของสตรีตอประสิทธิภาพในการบริหารงาน นอกจากนั้นงานของ

                  Avivah Wittenberg - Cox (2020) ไดกลาวถึงลักษณะของภาวะผูนําที่จะสามารถแกไขปญหาในภาวะ
                  วิกฤติการแพรระบาดของโรค COVID-19 ไดเปนอยางดีนั้นจะตองเปนผูนําที่มีการสื่อสารที่ดี ตรงไปตรงมา

                  และเปดเผยขอเท็จจริง เปนผูนําที่มีความเด็ดขาด ชัดเจนและเชื่อถือไดในการตัดสินใจ เปนผูนําที่เขาถึงได






                                                           196
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202