Page 195 - kpi22173
P. 195

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  โฟน (Smartphone) ไอแพด (iPAD) แท็บแล็ต (Tablet) เปนตน) ไมทราบแหลงสารสนเทศในการแสวงหา

                  สารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ ผลการศึกษานี้ยืนยันวา สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

                  หมูบานสวนใหญมีอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดาน

                  สุขภาพและพฤติกรรมในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพที่เหมาะสม

                             5) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีปญหาและอุปสรรคในการใชสารสนเทศ

                  ทางดานสุขภาพดานขาดการเขารวมกิจกรรมกลุมจึงไมสามารถนําสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ

                  ที่ไดรับไปใชเพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ของชุมชนได (หรือมีสวนรวมกับชุมชนนอย) เมื่อไดรับสารสนเทศ
                  หรือความรูทางดานสุขภาพมาแลว ไมสามารถพูดคุย แนะนํา แลกเปลี่ยนระหวางบุคคลได (ไมกลา

                  ขาดความมั่นใจ เปนตน) ไมสามารถนําสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพไปใชประโยชนเพื่อพิจารณา

                  และสังเกตอาการของผูปวยที่เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 แกบุคคลในครอบครัวได ขาดความมั่นใจ

                  หรือไมกลานําสารสนเทศทางดานสุขภาพไปใชประกอบการตัดสินใจสําหรับปองกัน เฝาระวังและควบคุม

                  การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 และไมสามารถนําสารสนเทศหรือความรู
                  ทางดานสุขภาพไปใชประโยชนเพื่อพิจารณาและสังเกตอาการของผูปวยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม

                  2019 แกบุคคลในชุมชนได ซึ่งผลการศึกษานี้มีทิศทางตรงกันขามกับผลการวิจัยของ สุรชาติ พุทธิมา

                  (2559) ที่พบวา มีวิธีการตรวจสอบความนาเชื่อถือของสารสนเทศทางดานสุขภาพที่ไดรับกอนนําไปใช
                  โดยสวนใหญไปพบแพทยที่โรงพยาบาล คลินิก สถานีอนามัย เพื่อขอคําปรึกษาและยืนยันขอมูลใหแนใจวา

                  สารสนเทศทางดานสุขภาพที่ไดรับนั้นมีความถูกตอง นาเชื่อถือและทันสมัย


                             สวนปญหาและอุปสรรคในการใชสารสนเทศทางดานสุขภาพในระดับปานกลางคือ ไมสามารถ

                  นําสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพที่ไดรับมาใหมผนวกกับความรูเดิมที่มีอยูเพื่อเพิ่มพูนความรู
                  เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ได ทั้งนี้อาจสรุปไดวา สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุข

                  ประจําหมูบานบางรายมีปญหาคือ ไมสามารถนําความรูทางดานสุขภาพที่ไดรับมาใหมผนวกกับความรูเดิม

                  ที่มีอยูเพื่อเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ได ทั้งนี้โดยสวนใหญแลว
                  สรุปในภาพรวมไดวา สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีปญหาและอุปสรรคในการใช

                  สารสนเทศทางดานสุขภาพในระดับนอย ซึ่งผลการศึกษานี้ยืนยันวา สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

                  หมูบานสามารถนําความรูทางดานสุขภาพที่ไดรับมาเพื่อสงตอความรูสูชุมชนสําหรับปองกัน เฝาระวังและ

                  ควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหมไดอยางเหมาะสม












                                                           194
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200