Page 193 - kpi22173
P. 193
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
Sylvain (1996) ที่วา บุคคลมีความตองการสารสนเทศแตกตางกันตามภาระงานและอาชีพ สวน Wilson
(1981) ไดใหมุมมองไวอยางนาสนใจวา ความตองการสารสนเทศของบุคคลเกิดขึ้นจากบริบททางสังคมและ
สภาพแวดลอมที่กอใหเกิดความตองการสารสนเทศ ดังนั้นสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
จึงมีความตองการสารสนเทศทางดานสุขภาพตามภาระงานและอาชีพและบริบททางสังคม ซึ่งสอดคลอง
กับผลการวิจัยของ ชลธิชา ดินขุนทด และสมาน ลอยฟา (2559) ที่พบวา ผูสูงอายุตองการสารสนเทศดาน
การรักษาพยาบาลและดานการปองกันโรค ในกรณีที่เจ็บปวย ผูสูงอายุตองการสารสนเทศดานการสงเสริม
สุขภาพและดานการรักษาพยาบาลและเปนไปในแนวทางเดียวกันกับ สุรชาติ พุทธิมา (2559) ที่คนพบวา
สมาชิกชมรมจักรยานในจังหวัดเชียงใหมมีความตองการสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมสุขภาพให
ดีขึ้นและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการรักษาสุขภาพและการปองกันโรคภัยไขเจ็บตางๆ และสอดคลองกับ
ผลการศึกษาของ จักรกฤษณ วังราษฎร และคณะ (2561) ที่พบวา มีความตองการขอมูลสุขภาพเพื่อ
นําไปใชในการดูแลผูสูงอายุในประเด็นเกี่ยวกับการจัดการกับโรคและความเจ็บปวยที่ผูสูงอายุเปนอยู
รวมทั้งการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในผูสูงอายุ
2) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพ
จากแหลงสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือ (เชน แหลงสารสนเทศจากบุคลากรทางการแพทย แหลง
สารสนเทศจากกรมควบคุมโรค แหลงสารสนเทศจากโรงพยาบาล/สถานพยาบาล แหลงสารสนเทศจาก
หนวยงานดานสาธารณสุข แหลงสารสนเทศจากหนวยงานราชการหรือแหลงสารสนเทศจากองคกรและ
หนวยงานที่เกี่ยวของ เปนตน) แสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพเพื่อปองกัน เฝาระวังและ
ควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 แกตนเองและบุคคลในครอบครัว
และแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 แกบุคคลในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Pickard
(2007) ที่วา การแสวงหาสารสนเทศเปนความสามารถในการคนหาสารสนเทศจากแหลงสารสนเทศที่
เหมาะสม ตรวจสอบไดวาสารสนเทศที่ไดรับนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม สามารถแยกแยะสารสนเทศที่ไดรับ
เพื่อนํามาใชประโยชนและมีความคลายคลึงกับแนวคิดของนักวิชาการไทยอยาง อารีย ชื่นวัฒนา (2545)
ที่ระบุวา การแสวงหาสารสนเทศเปนกิจกรรมหรือปฏิสัมพันธที่บุคคลนั้นกระทําเพื่อมีจุดมุงหมายหรือเพื่อ
สนองความตองการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลการศึกษานี้สอดสอดคลองกับ จักรกฤษณ วังราษฎร และคณะ
(2561) ที่คนพบวา แสวงหาขอมูลจากแหลงขอมูลประเภทบุคคลจากเพื่อนบาน ผูปวยหรือผูที่เคยมี
ประสบการณ รวมทั้งแสวงหาจากอาสาสมัครสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทยและปราชญชาวบานและ
มีความคลายคลึงกับผลการศึกษาของ พรชิตา อุปถัมภ (2559) ที่พบวา แหลงสารสนเทศที่ผูสูงอายุ
สวนใหญนิยมใชสําหรับการเขาถึงสารสนเทศที่สําคัญคือ เว็บไซตทางดานสุขภาพ
192