Page 191 - kpi22173
P. 191

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  เกี่ยวกับการแพรระบาดที่สับสนและเปนการสรางความยุงยากใหกับคนในชุมชนในการปฏิบัติตามแนวทาง

                  รัฐบาลเพื่อการปองกันที่ถูกตองดวย


                             จากการที่ อสม. ไดประจําจุดตามดานระหวางจังหวัดแลวมีการสนองตอบตอมาตรการปองกัน

                  การแพรระบาดและมีความรวมมือกับคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอ เพื่อประสานใหความชวยเหลือ
                  งานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับสุขภาพโดยตรงในการควบคุมโรค เนื่องจาก อสม.

                  เปนคนในชุมชนที่ตนเองเติบโตมาจึงรูจักมักคุนกับสมาชิกคนอื่นๆ ในชุมชนเปนอยางดี ซึ่งทําใหไดรับความ

                  เชื่อมั่นและไววางใจจากคนในชุมชนและคนที่กลับมาจากตางจังหวัดอีกดวย ดังนั้น ความรวมมือในการ
                  คัดกรองและปฏิบัติตามแนวทางของรัฐเพื่อปองกันการแพรระบาดจึงประสบความสําเร็จ ความไววางใจ

                  ระหวางชุมชนและผูใหบริการดานสุขภาพจึงมีความสําคัญอยางมากในหวงเวลาของการแพรระบาด

                  โดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานการณที่เกิดปญหาและในภาวะที่มีทรัพยากรอยูอยางจํากัด รวมทั้งยังมีประเด็น

                  ที่ตองพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของ อสม. ดังนั้นหนวยงานภาครัฐจึงจําเปนตองดําเนินการ

                  เพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของ อสม. สตรี ใหมากขึ้น  ไมวาจะเปนเรื่องของการบรูณาการขอมูลขาวสาร
                  เกี่ยวกับการแพรระบาดระหวางพื้นที่ของ อสม. ใหมากขึ้น  เนื่องจากความสําเร็จในการควบคุมโรคนั้น

                  ยังจํากัดอยูบางอําเภอไมใชระดับจังหวัด อาจเปนเพราะขาดการสื่อสารอยางเปนระบบซึ่งสามารถเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพในการสื่อสารขามจังหวัดเพื่อแบงปนและกําหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีในการปองกันและควบคุม
                  การแพรระบาดของโรค COVID-19  อีกทั้งระบบการสื่อสารสงเสริมใหเกิดการประสานความรวมมือขาม

                  ภาคสวนของรัฐเพื่อบรรเทาการสูญเสียโอกาสและรายไดระหวางการแพรระบาด  ในขณะที่การออก

                  ระเบียบตางๆ อาจสงผลตอการควบคุมโรค เชน อาจนําไปสูการกักตุนหนากาก ขอมูลที่เปนเท็จเกี่ยวกับ

                  โรค รวมถึงความลมเหลวในการควบคุมการอพยพ  นอกจากนั้น ควรปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินการเฝาระวัง

                  และปองกันการแพรระบาดที่มีความจําเพาะสอดคลองกับบริบทของแตละพื้นที่  ดวยเหตุนี้เพื่อเปนการ
                  เตรียมการที่ดีหากวาเกิดโรคระบาดขึ้นอีกในอนาคต การดําเนินการของ อสม. ก็ควรมีการปรับเปลี่ยนให

                  เขากับบริบท (Customisation) ที่มีความเปนเมือง (Urban) เพื่อใหเกิดความคลองตัวและเหมาะสมกับ

                  บริบทเฉพาะของแตละพื้นที่  ประการตอมาคือ การสงเสริมสวัสดิการของ อสม. ใหมากขึ้นโดยอาจไมได
                  เนนไปที่คาตอบแทนที่เปนตัวเงินมากนัก แตเนนไปที่สวัสดิการอื่นๆ เพื่อเปนขวัญและกําลังใจในการทํางาน

                  ไมกอใหเกิดภาระตอ อสม. มากเกินไป ถึงแมวา อสม. เองจะตระหนักดีวาตนเองเขามาเปนอาสาสมัคร

                  ทํางานเพื่อสวนรวม ชุมชนและสังคมก็ตาม  นอกจากนั้น เนื่องจากการทํางานในสถานการณการแพร

                  ระบาดจําเปนตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น จึงควรมีการฝกอบรมและใหความรู

                  เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพใหแก อสม. หรือมีการคัดเลือกคนรุนใหมเขามาทํางาน อสม.
                  ที่กําลังปลดประจําการ  การมีความรูความเขาใจ วิธีการเขาถึงสื่อ รูเทาทันสื่อและการใชสารสนเทศดาน







                                                           190
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196