Page 196 - kpi22173
P. 196

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                         6.2.2 บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวม

                  ของชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม

                  2019 ในจังหวัดเชียงใหม รายละเอียดดังนี้


                             สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในจังหวัดเชียงใหม โดยพื้นเพแลวเปนคนใน
                  หมูบานที่มีจิตอาสาในการทํางานเพื่อชุมชน มีความเปนผูนําและไดรับความไววางใจจากคนในชุมชน

                  เนื่องจากความสัมพันธทางเครือญาติในสังคมชุมชนชนบท โดยทั่วไปแลว อสม. ไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

                  และผานการฝกอบรมทางการแพทยหรือวิธีการดูแลสุขภาพเบื้องตน จากขอมูลดานสถานภาพทาง
                  เศรษฐกิจและสังคม (SES) พบวา อสม. บางสวนสําเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือสูงกวา มีหนาที่

                  การงานที่มั่นคงและมักมีตําแหนงอื่นๆ ในชุมชนควบคูไปพรอมกันดวยและอาสามาทํางาน อสม. เพราะมี

                  ความสุขที่ไดชวยเหลือผูอื่นและทําประโยชนใหแกชุมชนและไดรับการยอมรับจากคนในชุมชน และอื่นๆ

                  อีกทั้งดวยความเปนสตรีถิ่นที่มีวัฒนธรรมความออนโยน เอาใจใสคนอื่น รวมทั้งตองดูแลคนในครอบครัว

                  ซึ่งสามารถขยายไปสูการดูแลผูอื่นในครอบครัวอื่นๆ ไดเชนกัน แตกระนั้น อสม. ซึ่งสวนใหญแลวเปนคนใน
                  ชุมชนอาศัยมานานหรือไมก็เติบโตขึ้นมาในชุมชนนั้นๆ เปนที่รูจักมักคุนกับสมาชิกชุมชนคนอื่นๆ ทําใหการ

                  ดูแลหรือปฏิบัติตามมาตรการของรัฐบาลที่สงผานจากคนในชุมชนที่เปน อสม. สูสมาชิกคนอื่นๆ และนําไปสู

                  การปฏิบัติไดงายขึ้น โดย อสม. เปนผูมีบทบาทชวยเหลือทั้งรัฐบาล บุคลากรทางการแพทยและ
                  คนในชุมชน ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการทุเลาการแพรระบาดของโรค COVID-19 งานศึกษาที่เกิดขึ้นหลังจาก

                  เกิดการระบาดของโรค COVID-19 ชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวาง SES กับการแพรระบาดของโรค COVID-

                  19 จํานวนหนึ่งไดพยายามสรางความเขาใจปรากฏการณที่เกิดขึ้น อยางงานเขียนของ Hawkins, Charles

                  and Mehaffey (2020) ศึกษาความสัมพันธระหวาง SES กับจํานวนผูติดเชื้อและเสียชีวิตจากโรค COVID-

                  19 ในสหรัฐอเมริกาที่มีการแพรระบาดสูงที่สุดในโลกและมีกรณีการติดเชื้อและเสียชีวิตที่แตกตาง
                  หลากหลายในแตละชุมชนพบวา ระดับการศึกษาที่ต่ํากวาและกลุมคนผิวดํามีระดับการติดเชื้อและการ

                  เสียชีวิตสูงกวากลุมอื่นของสังคม และมองวานโยบายในการแกปญหาความไมเสมอภาคดานผลกระทบที่

                  เกิดจากการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในแหลงชุมชนนั้นๆ ควรนําปจจัยดาน SES มาพิจารณาในการ
                  จัดลําดับใหความชวยแหลือรวมดวย งานศึกษาที่คลายคลึงกันอีกชิ้นคือ งานเขียนของ Wanberg, Csillag,

                  Douglass, Zhou and Pollard (2020) ที่ไดศึกษาการวัดระดับความเปลี่ยนแปลงสุขภาพทางจิต เชน

                  อาการโรคซึมเศราและความคาดหวังในชีวิตกอนและระหวางการแพรระบาดของโรค COVID-19 ของคน

                  อเมริกัน โดยวัดจากสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (SES) พบวา คนเกิดอาการโรคซึมเศราในชวงที่มี

                  การแพรระบาดเกิดขึ้นสูงกวาชวงกอนหนาและมีความคาดหวังในชีวิตลดลง คนที่มีการศึกษาสูงมีอาการ
                  ซึมเศราเพิ่มขึ้นอยางมาก  ในขณะเดียวกันความคาดหวังในชีวิตก็ลดลงมากเชนกัน โดยเปรียบเทียบกับกลุม







                                                           195
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201