Page 199 - kpi22173
P. 199

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  เนื่องจากวาการวางแผนที่เกี่ยวของกับเพศสภาพนั้นมักถูกใชในวงการสาธารณสุขมูลฐาน งานวิจัยของ

                  MacCormack มองวาการสงเสริ่มบทบาทสตรีใหเขามามีสวนรวมในโครงการดานสุขภาพและการพัฒนา

                  ถือวาเปนกระบวนการเสริ่มสรางพลังใหแกสตรีมากขึ้นได


                             อสม. ไดแสดงบทบาทในการปองกันการแพรระบาดของโรค COVID-19 อยางตอเนื่อง หนาที่
                  หลักคือ การคัดกรองบุคคลในแตละหลังคาเรือน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูเดินทางกลับจากตางประเทศหรือ

                  พื้นที่เสี่ยงในประเทศ อสม. จะติดตอโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเพื่อสงตอผูปวยหากมีเหตุจําเปนที่

                  ตองไดรับการรักษา นอกจากนั้น อสม. ยังใหการสนับสนุนทางจิตใจใหแกคนในชุมชนเพื่อเปนการทุเลา
                  ผลกระทบทางจิตใจจากการแพรระบาดในพื้นที่ จัดหายาและเวชภัณฑสําหรับผูปวยอาการหนัก การให

                  ความชวยเหลือถึงประตูบาน (Door-to door assistance) และความสัมพันธฉันเครือญาติระหวาง อสม.

                  กับคนในชุมชน สงเสริมใหเกิดการดําเนินการตามแนวทางระดับชาติเพื่อการปองกันและการดูแลตนเองให

                  ปลอดภัยจากโรค COVID-19 เชน การหมั่นลางมือ การใชเจลลางมือ สวมหนากากอนามัยและการเวน

                  ระยะหางทางกายภาพ เปนตน ซึ่งแตกตางจากการใหบริการโดยบุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาล
                  การบริการถึงประตูบานเปนการลดระยะเวลาและการเดินทาง ทําใหงายตอการดําเนินงานในพื้นที่หางไกล

                  ดวยแพลตฟอรมการสื่อสารที่นํามาใชติดตอระหวางกัน เชน Line App ระหวาง อสม. คนในชุมชนและ

                  บุคลากรทางการแพทย ถือวาเปนการเพิ่มโอกาสในการสงตอวิธีการรักษาเมื่อพบเจอสัญญาณอาการของ
                  โรค และการเฝาระวังสําหรับผูที่อยูระหวางการกักตัวในชุมชน อีกทั้งการสนับสนุนจากหนวยงานทองถิ่น

                  เชน คณะกรรมการสุขภาพระดับตําบล (Sub-district Health Boards--SHBs) และความรวมมือระดับชาติ

                  เปนการสงเสริมให อสม. สามารถดําเนินงานปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค COVID-19 ได

                  โรคระบาดไดกลายเปนนโยบายระดับสูงสุดในทุกอําเภอ ดวยเหตุนี้ ทรัพยากรตางๆ ไดถูกระดมมาใชในการ

                  ลดการแพรระบาดโดยตรง กองทุนสุขภาพตําบล (Sub-district Health Fund) ไดถูกใชในการเสริมสราง
                  สมรรถนะในการเฝาระวังและสงเสริมสุขภาพใหแกการทํางานของ อสม. อีกทั้งบริษัทโทรคมนาคมยัง

                  รวมมือกับกระทรวงสาธารณสุขในการพัฒนาแอปพลิเคชันออนไลนเพื่อใชในระบบเฝาระวังในระดับทองถิ่น

                  อีกดวย

                         6.2.3 แนวทางในการเสริมสรางการมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

                  หมูบานเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม

                  2019 ในจังหวัดเชียงใหม

                             ผลการศึกษานี้ยืนยันวา อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานและระบบสนับสนุนที่เกี่ยวของ

                  กับการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary healthcare) มีความสําคัญอยางยิ่งตอการทุเลาการแพรระบาดของ

                  โรค COVID-19 และการแพรระบาดของโรคอื่นๆ ในอนาคต โดยเฉพาะการหนุนเสริมใหบุคคลและชุมชน





                                                           198
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204