Page 201 - kpi22173
P. 201

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                                 1.2) ควรมีการสงเสริมสวัสดิการของ อสม. ใหมากขึ้น เชน คาเดินทาง คาปวยการ

                  สวัสดิการที่ครอบคลุมการรักษาโรงพยาบาลเอกชนหรือครอบคลุมการเบิกจายนอกเหนือยานอกบัญชี

                  ยาหลักแหงชาติ เนื่องจากสวัสดิการรักษาพยาบาลของ อสม. ในปจจุบันถึงแมจะมีการเพิ่มสวัสดิการขึ้น

                  บางอยาง นับตั้งแต 8 มกราคม พ.ศ. 2563 เปนตนมา ทางภาครัฐไดมีการปรับปรุงระเบียบกระทรวง

                  สาธารณสุขวาดวยการชวยเหลือในการรักษาพยาบาล (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2562 ให อสม.ทุกคน ไดรับสิทธิคา
                  หองพิเศษและคาอาหารพิเศษฟรี สวนบุคคลในครอบครัว อสม. ยังคงใหเรียกเก็บรอยละ 50 ของอัตราที่

                  กําหนด โดยผูที่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลจากสวนราชการใหเรียกเก็บตามสิทธิกอน สวนที่เกินใหเรียก

                  เก็บรอยละ 50 เมื่อเขาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เปนตน อยางไรก็ตาม
                  ในการรักษายังไมสามารถเบิกจายยานอกบัญชียาหลักแหงชาติได อีกทั้งโรงพยาบาลรัฐมีความแออัด แพทย

                  เฉพาะทางและอุปกรณทางการแพทยบางอยางสามารถเขาถึงไดในโรงพยาบาลเอกชนที่สิทธิการรักษา

                  พยาบาลของ อสม. ไมครอบคลุม ดังนั้นหนวยงานภาครัฐจึงควรปรับปรุงระบบสวัสดิการใหแก อสม. ใหมาก

                  ขึ้น โดยอาจไมไดเนนไปที่คาตอบแทนที่เปนตัวเงินมากนักเพื่อเปนขวัญและกําลังใจในการทํางานไมกอใหเกิด

                  ภาระตอ อสม. มากเกินไป แมวา อสม. จะตระหนักดีวาตนเขามาเปนอาสาสมัครทํางานเพื่อสวนรวม ชุมชน
                  และสังคม ซึ่งสอดคลองกับงานเขียนของ Rezakhani Moghaddam, Allahverdipour, Musavi, Shekarchi,

                  and Matlabi (2019) ที่ทําการศึกษาบทบาทสตรีอาสาสมัครดานสุขภาพในประเทศอิหราน โดยใหความเห็น

                  วา อาสาสมัครดานสุขภาพสตรีคือจุดเชื่อมโยงระหวางคนในชุมชนกับผูทํางานในวงการสุขภาพ อาสาสมัคร
                  ดานสุขภาพสตรีแสดงบทบาทที่สําคัญในกิจกรรมการใหความรูดานสุขภาพ การติดตามสุขภาพของ

                  ครอบครัวที่สวัสดิการดานสุขภาพไมไดครอบคลุม รวมไปถึงการอัปเดตขอมูลดานประชากรใหแกศุนย

                  สุขภาพ โดยศึกษาครอบคลุม 3 มิติหลักๆ คือ ดานการมีสวนรวมในการสงเสริมสุขภาพ ดานการรับรู

                  ประโยชนที่ไดจากการเขารวมและสิ่งแวดลอมที่เปนตัวยับยั้งในการเขารวมหรือสงผลใหตองออกจากการเปน

                  อาสาสมัคร งานวิจัยสรุปไววา การสรางวัฒนธรรมเกี่ยวกับบทบาทของอาสาสมัครดานสุขภาพ การใหคุณคา
                  ตอกิจกรรมที่ดําเนินการในชุมชนและการแจงปญหาตอผูดูแลโครงการอาสาสมัครดานสุขภาพอาจมีสวนชวย

                  อัตราการคงอยูของจํานวนอาสาสมัครไวได อีกทั้งยังอาจทําใหโครงการตางๆ ที่ดําเนินการในระดับชุมชนเกิด

                  ความยั่งยืนมากขึ้นดวย

                             2) แนวทางเชิงปฏิบัติ


                                 2.1) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินการเฝาระวังและปองกันการแพรระบาดที่มีความ

                  จําเพาะสอดคลองกับริบทของแตละพื้นที่ งานวิจัยที่สนับสนุนขอเสนอนี้ที่พบไดในงานวิจัยของฝงสหรัฐ
                  อเมริกา อยางงานเขียนของ Hawkins, Charles and Mehaffey (2020) พบวา ระดับการศึกษาที่ต่ํากวา

                  และกลุมคนผิวดํามีระดับการติดเชื้อและการเสียชีวิตสูงกวากลุมอื่นของสังคมและมองวานโยบายในการ






                                                           200
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206