Page 202 - kpi22173
P. 202

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  แกปญหาความไมเสมอภาค ดานผลกระทบที่เกิดจากการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในแหลงชุมชน

                  นั้นๆ ควรนําปจจัยดาน SES มาพิจารณาในการจัดลําดับใหความชวยแหลือรวมดวย ขอมูลดังกลาวแสดงให

                  เห็นความสัมพันธระหวาง SES กับจํานวนผูติดเชื้อและเสียชีวิตจากโรค COVID-19 ซึ่งเปนการศึกษาใน

                  สหรัฐอเมริกาในชวงที่มีการแพรระบาดสูงและพบขอมูลการกระจายตัวของผูติดเชื้อและเสียชีวิตที่แตกตาง

                  หลากหลายในแตละชุมชนซึ่งสะทอนใหเห็นวาการดําเนินการหรือวิธีการรับมือกับการแพรระบาดควรมี
                  มาตรการในทางปฏิบัติในรายละเอียดที่เหมาะสมกับบริบทของแตละชุมชน เนื่องจากวา อสม. ถูกมองวา

                  เปนกลไกที่ทรงประสิทธิภาพในพื้นที่นอกตัวเมืองที่มีความแตกตางจากชุมชนในตัวเมือง เพราะความผูกพัน

                  ระหวางสมาชิกในชุมชนและ อสม. ทองถิ่น มีความกระชับแนนมากกวาบริเวณพื้นที่ในตัวเมือง ดวยเหตุนี้
                  เพื่อเปนการเตรียมการที่ดีหากเกิดโรคระบาดขึ้นอีกครั้งในอนาคต การดําเนินการของ อสม. ก็ควรมีการ

                  ปรับเปลี่ยนใหเขากับบริบท (Customisation) ที่มีความเปนเมือง (Urban) เพื่อใหเกิดความคลองตัวและ

                  เหมาะสมกับบริบทเฉพาะของแตละพื้นที่


                                 2.2) ควรมีการสรางกิจกรรมเครือขาย อสม. ใหเขมแข็งและสม่ําเสมอมากยิ่งขึ้น
                  ครอบคลุมกิจกรรมดานตางๆ เชน การสรางเครือขายผานการฝกอบรมและใหความรูที่เกี่ยวของกับ

                  เทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพใหแก อสม. โดยเตรียมความพรอมและคัดเลือกคนรุนใหมเขามาทดแทน

                  อสม. รุนเกาที่กําลังปลดประจําการ การมีความรูความเขาใจ วิธีการเขาถึงสื่อ รูเทาทันสื่อและการใช
                  สารสนเทศทางดานสุขภาพของ อสม. อาจมีสวนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานในเชิงพื้นที่/ชุมชน

                  ไดมากขึ้น เพื่อให อสม. สั่งสมความรูและประสบการณการทํางานในพื้นที่ แนวทางนี้สอดคลองกับวิจัยของ

                  Rezakhani Moghaddam, Allahverdipour, Musavi, Shekarchi, and Matlabi (2019) ที่ชี้ใหเห็นวา

                  อาสาสมัครดานสุขภาพสตรีคือ จุดเชื่อมโยงระหวางคนในชุมชนกับผูทํางานในวงการสุขภาพ อาสาสมัคร

                  ดานสุขภาพสตรีแสดงบทบาทที่สําคัญในกิจกรรมการใหความรูดานสุขภาพ การติดตามสุขภาพของ
                  ครอบครัวที่สวัสดิการดานสุขภาพไมไดครอบคลุม รวมไปถึงการอัปเดตขอมูลดานประชากรใหแกศุนย

                  สุขภาพ การจะรักษา อสม. ใหคงอยูและพัฒนาความรู สั่งสมประสบการณของตนเอง การสรางวัฒนธรรม

                  และคานิยมรวมของบรรดา อสม. ดวยกันเอง การใหคุณคาตอกิจกรรมที่ดําเนินการในชุมชนและการแจง
                  ปญหา ปรึกษาหารือกันตอผูดูแลโครงการอาสาสมัครดานสุขภาพอาจมีสวนชวยอัตราการคงอยูของจํานวน

                  อาสาสมัครไวได อีกทั้งยังอาจทําใหโครงการตางๆ ที่ดําเนินการในระดับชุมชนเกิดความยั่งยืนมากขึ้นดวย

                  ในที่นี้อาจสงผลดีตอประสิทธิภาพการทํางานของ อสม. ใหดียิ่งขึ้นไปดวย


                                 2.3) ควรมีการเพิ่มพูนความรูดานการดูแลสุขภาพของชุมชนใหแก อสม. อยางตอเนื่อง
                  และทันสมัย เนื่องจากการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในปจจุบันนั้นทําใหตระหนักไดวา การเรียนรู

                  วิธีการดูแลตนเองใหถูกตองตามหลักการสาธารณสุขและตองเปนขอมูลที่ทันสมัยและมีความนาเชื่อถือเปน






                                                           201
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207