Page 198 - kpi22173
P. 198

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  งายเปนกันเอง รูจักวิธีการประสานงานที่ดีและอยูเคียงขางในทุกสถานการณ เปนผูนําที่แสดงออกถึง

                  ความเห็นอกเห็นใจ แสดงความเขาใจ รวมถึงแสดงความหวงใยเพื่อใหไดรับความไวใจจากผูอื่น เปนผูนําที่

                  รูจักใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการรับมือกับปญหา ซึ่งลักษณะสําคัญนี้สอดคลองกับลักษณะเดนของผูหญิงใน

                  หลายดานที่จะสามารถชวยแกไขปญหาในภาวะวิกฤติได ดังเชน ผูนําของประเทศเยอรมนี ไตหวัน

                  นิวซีแลนด ไอซแลนด ฟนแลนด นอรเวยและผูนําของประเทศเดนมารก วาเปนผูนําหญิงที่มีการบริหาร
                  จัดการควบคุมการระบาดของโรค COVID-19 ที่มีประสิทธิภาพ โดยผูนําหญิงเหลานี้ไดใหความสําคัญตอ

                  การสื่อสารกับประชาชน นอกจากนี้ ผูนําหญิงยังมีความละเอียดออน มีความเห็นอกเห็นใจและความเอาใจ

                  ใส ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญของผูนําตอความสําเร็จในการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติการระบาดของโรค
                  COVID-19 (Wittenberg - Cox, A. (2020) อางถึงในคณาจารยสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหง

                  จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2563) เชนเดียวกับงานเขียนของ กิตติ วงศปทุมทิพย (2560) พบวาการมีสวน

                  รวมในการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานอยูในระดับ

                  มาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีคะแนนเฉลี่ยการมีสวนรวมอยู

                  ในระดับมาก เรียงจากมากไปหานอยคือ ดานการประชาสัมพันธ ดานการเฝาระวังโรคและดานการปองกัน
                  และควบคุมโรคและกลุมอายุ การไดรับการอบรมที่ตางกันมีระดับการมีสวนรวมในการปองกันและควบคุม

                  โรคติดเชื้อของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานที่แตกตางกัน อายุและการเคยเขารับการอบรม มีผล

                  ตอการมีสวนรวมในการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ซึ่งสะทอนใหเห็นวาหากตองการเสริมสราง
                  การมีสวนรวมของ อสม. ใหมากขึ้นตองดําเนินการไปในทิศทางใด เปนตน


                             สตรี อสม. มีบทบาทในการสงเสริมชาวบานและชุมชนใหรูจักดูแลตนเองและวิธีการดูแลผูอื่น

                  โดยการใหความรูแกคนในชุมชนในการปองกันโรค COVID-19 เชน การสวมหนากากอนามัย หมั่นลางมือ

                  และการเวนระยะหางทางกายภาพเปนอยางดี ซึ่งสอดคลองกับงานเขียนของคณาจารยสถาบันบัณฑิต
                  บริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2563) กลาวถึงจุดเดนของผูนําหญิงและเหตุผลที่ทําให

                  ผูนําหญิงสามารถบริหารจัดการสถานการณวิกฤติไดดีกวาผูชาย ทั้งในเรื่องของความละเอียดออน ความ

                  เขาอกเขาใจ ความเห็นอกเห็นใจ อีกทั้งลักษณะเดนโดยปกติของผูหญิง คือ จะมีความออนหวานเปนกันเอง
                  แตเวลาที่ตองตัดสินใจก็จะใชทั้งเหตุผลผสมกับอารมณความรูสึกและตัดสินใจไดอยางเด็ดขาดในบางเรื่อง

                  ยิ่งไปกวานั้นผูหญิงยังมีทักษะในการสื่อสารที่ดี ชัดเจน ตรงไปตรงมาและเขาถึงไดงาย ซึ่งเปนสิ่งจําเปน

                  อยางยิ่งในภาวะวิกฤติ สวนการบริหารจัดการภาวะวิกฤติของโรค COVID-19 ในประเทศไทยนั้นถือไดวา

                  ประสบความสําเร็จ สามารถควบคุมจํานวนผูติดเชื้อและมีจํานวนผูที่ไดรับการรักษาจนหายเปนปกติเปน

                  ระดับตนๆ ของโลก จนไดรับการชื่นชมจากนานาชาติ ซึ่งสอดคลองกับงานเขียนของ MacCormack
                  (1992) ที่กลาวถึงการวางแผนและการประเมินการมีสวนรวมของสตรีในวงการสาธารณสุขมูลฐาน อัน







                                                           197
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203