Page 194 - kpi22173
P. 194

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                             3) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีการใชสารสนเทศทางดานสุขภาพที่ไดรับมา

                  ไปใชแกปญหาสําหรับปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม

                  2019 แกตนเองและบุคคลในครอบครัว เลือกใชสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพจากแหลงสารสนเทศ

                  ที่ระบุแหลงที่มาชัดเจน (เชน จากบุคลากรทางการแพทย กรมควบคุมโรค องคกรหรือหนวยงานอื่นๆ

                  ที่เกี่ยวของ เปนตน) และเลือกใชสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพที่มีความถูกตอง สมบูรณและความรู
                  ที่เปนปจจุบันทันตอเหตุการณ ผลการศึกษานี้สอดคลองกับแนวคิดของ Wilson (2000) ที่ระบุวา การใช

                  สารสนเทศเปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับการรวบรวมสารสนเทศเพื่อนํามาใชประโยชน สวนนักวิชาการ

                  ชาวไทยอยาง ชัชวาลย วงษประเสริฐ (2537) ไดใหมุมมองไววา การใชสารสนเทศเปนไปเพื่อตอบสนอง
                  ตอความตองการสวนบุคคลในดานการประกอบอาชีพและการปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ

                  ชลธิชา ดินขุนทด และสมาน ลอยฟา (2559) ที่พบวา ผูสูงอายุสวนใหญใชสารสนเทศเพื่อการรักษาพยาบาล

                  และเพื่อดูแลและสงเสริมสุขภาพ


                             4) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีปญหาและอุปสรรคในการแสวงหา
                  สารสนเทศทางดานสุขภาพอยูหางไกลจากที่พักอาศัยหรือจากสถานที่ทํางาน (ศูนยสุขภาพชุมชน

                  ศูนยบริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาล) การเขาถึงแหลงสารสนเทศออนไลนในการแสวงหาสารสนเทศ

                  หรือความรูทางดานสุขภาพไมสะดวก ยุงยาก ซับซอน ขาดการติดตามขาวสาร หรือความเคลื่อนไหว
                  เกี่ยวกับสารสนเทศหรือแหลงสารสนเทศเพื่อการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพอยาง

                  ตอเนื่อง ไมกลาพูดคุยหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพกับ

                  บุคลากรทางการแพทย องคกรหรือหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของได (วิตกกังวล ขาดความมั่นใจ) ไมสามารถ

                  ตรวจสอบความถูกตอง ความนาเชื่อถือของสารสนเทศทางดานสุขภาพที่แสวงหาไดดวยตนเอง ไมสามารถ

                  แสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพจากรูปแบบของการพูดคุยแนะนํา แลกเปลี่ยนระหวาง
                  บุคคลได (เชน ไมกลา ขาดความมั่นใจ) ไมสามารถแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพไดดวย

                  ตนเอง ขาดทักษะในการใชอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรู

                  ทางดานสุขภาพ (เชน สมารตโฟน (Smartphone) ไอแพด (iPAD) แท็บแล็ต (Tablet) รายไดหรือฐานะ
                  ทางเศรษฐกิจเปนอุปสรรคในการจัดซื้ออุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือ

                  ความรูทางดานสุขภาพ (เชน สมารตโฟน (Smartphone) ไอแพด (iPAD) แท็บแล็ต (Tablet) เปนตน) ผล

                  การศึกษานี้มีความสอดคลองกับ ชลธิชา ดินขุนทด และสมาน ลอยฟา (2559) ที่พบวา แหลงสารสนเทศที่

                  ตองการอยูไกลและไมรูวิธีการใชอินเทอรเน็ต

                             สวนปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพในระดับนอยคือ ขาด

                  อุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ (เชน สมารต






                                                           193
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199