Page 192 - kpi22173
P. 192

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  สุขภาพของ อสม. อาจมีสวนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานในเชิงพื้นที่/ชุมชนได  ประการสุดทาย

                  ควรมีการเพิ่มพูนความรูดานการดูแลสุขภาพของชุมชนใหแก อสม. อยางตอเนื่องและทันสมัย การ

                  ฝกอบรมอยางสม่ําเสมอใหแก อสม. จึงเปนอีกแนวทางในการเสริมสรางใหเกิดการดูแลชุมชนในชุมชนอยาง

                  ตอเนื่อง การดําเนินงานของ อสม. ดําเนินการภายใตแนวคิดสาธารณสุขมูลฐาน (Primary healthcare)

                  ซึ่งระบุไวในคําประกาศ Declaration of Astana 2018  โดยคานิยมที่อิงอยูกับความไวเนื้อเชื่อใจ (Trust-
                  based value) ชวยใหผูคนที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกลจากการเขาถึงบริการสาธารณสุข การเสริมสราง

                  สมรรถนะของ อสม. ใหสามารถใชเทคโนโลยีในการสื่อสารระหวางกันเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการ

                  ใหบริการไดทันเวลาในชวงที่มีการแพรระบาดเปนเรื่องที่สําคัญเปนอยางยิ่ง


                  6.2 อภิปรายผลการวิจัย


                         การอภิปรายผลการวิจัยบทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการ
                  มีสวนรวมของชุมชนเพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019

                  ในจังหวัดเชียงใหม ผูวิจัยไดแบงการอภิปรายออกเปน 3 สวนคือ พฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพ

                  ของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
                  และแนวทางในการเสริมสรางการมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเพื่อปองกัน

                  เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม

                  นําเสนอผลอภิปรายแตละสวนดังนี้


                         6.2.1 พฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
                  ในการใหความรูแกชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

                  สายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม ประกอบดวย  1) ความตองการสารสนเทศทางดานสุขภาพ

                  2) การแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพ  3) การใชสารสนเทศทางดานสุขภาพ  4) ปญหาและอุปสรรค
                  ในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพ และ 5) ปญหาและอุปสรรคในการใชสารสนเทศทางดาน

                  สุขภาพ ดังนี้


                             1) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีความตองการสารสนเทศทางดานสุขภาพ

                  เพื่อใหความรูแกชุมชนในการปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
                  สายพันธุใหม 2019  การอุบัติใหมของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 สงผลใหตระหนักถึง

                  ความสําคัญและความจําเปนของสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพและตองการสารสนเทศหรือความรู

                  ทางดานสุขภาพใหมๆ เพื่อปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
                  สายพันธุใหม 2019 อยางสม่ําเสมอ  ซึ่งผลการศึกษานี้สอดคลองกับแนวคิดของ Leckie, Pettigrew &







                                                           191
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197