Page 63 - 21211_fulltext
P. 63

การประหยัดจากขนาดในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
           และวิเคราะห์ศักยภาพการควบรวมท้องถิ่นขนาดเล็ก




                          “….. In many countries, amalgamations were part of a
                    national reform that included a vast number of simultaneous
                    amalgamations, and that sometimes involved new task
                    assignments or new financial arrangements as well. That makes it

                    difficult to isolate the effects of amalgamation…”


                      คำอธิบายประสิทธิภาพเมื่อองค์กรขนาดใหญ่ ได้รับการขยายความคือ
                 หนึ่ง องค์กรขนาดใหญ่เปิดโอกาสให้เกิด “ความชำนาญเฉพาะอย่าง” (specialization)
                 การแบ่งงานกันทำซึ่งทำให้บุคลากรพัฒนาทักษะและควมชำนาญการ  สอง การลด
                 ต้นทุนคงที่ เมื่อองค์กรทำภารกิจหลายด้านหรือหลายประเภท สาม เมื่อองค์กรมีขนาด

                 ใหญ่มีผลจูงใจให้มีนักบริหารที่มีฝีมือและประสบการณ์เข้ามาทำงาน มองว่าเป็น
                 การทำงานที่ท้าทาย

                          The most obvious effect of amalgamation is an increase in

                    jurisdiction size. Amalgamations are often inspired by the
                    hypothesis that size increase will improve productive efficiency.
                    One reason is that bigger size allows specialization, that is, an

                    improved division of labor, resulting in more experienced or
                    better educated workers. Furthermore, increasing scale enables
                    fixed costs to be spread over a larger output. Moreover, larger

                    jurisdictions may be able to attract better administrators, and thus
                    improve service levels or take on responsibilities previously
                    avoided. Another positive effect is that scaling up will reduce

                    spillovers, promoting allocative efficiency (Oates, 1972).

                      ประเทศสวีเดน ได้ผลักดันมาตรการควบรวมท้องถิ่นครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1952
                 โดยเปิดโอกาสให้ควบรวมในรูปแบบสมัครใจและแบบบังคับ นโยบายนี้ได้รับ

                 การต่อต้านจากหน่วยงานท้องถิ่น แต่ในท้ายที่สุดจำนวนเทศบาลลดลงไปถึงร้อยละ 66
                 ในช่วงปี ค.ศ. 1953-1959 จากเดิมที่เคยมีเทศบาล 2,498 แห่ง เหลือเพียง 1,037 แห่ง






               0 สถาบันพระปกเกล้า
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68