Page 87 - kpi21193
P. 87

นำเสนอโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมต่อผู้บังคับบัญชาได้ แม้ไม่ใช่ฝ่ายแผนหรือหน่วยงาน
                  วิชาการ ฯลฯ ส่วนประเด็นที่ผู้บริหารเทศบาลฯทำน้อย คือ ความอดกลั้นต่อความไม่แน่นอน
            “สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น
                  และ การเปิดโอกาสให้โชคชะตา ค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  3.20 คิดเป็นร้อยละ 73.3  นั่นคือ
                  ผู้บริหารให้บุคลากรทำโครงการเดิม ๆ ที่เชื่อมั่นว่าจะประสบความสำเร็จมากกว่าให้ทำโครงการ
                  ใหม่เพราะกลัวว่าจะล้มเหลว  และส่งเสริมให้บุคลากรไปอบรมในเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับงานโดยตรง

                  (เช่น ส่งนักวิเคราะห์ฯ ไปอบรมเรื่องอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการทำแผน) เพื่อช่วยให้พวกเขามีความคิด
                  ริเริ่มสร้างสรรค์หรือมีมุมมองนอกกรอบ ยังทำอยู่น้อย


                              และในส่วนเจ้าหน้าที่เทศบาลนครเชียงรายพบว่า วิธีปฏิบัติในการเอื้อให้เกิด
                  นวัตกรรม มีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 3.42 คิดเป็นร้อยละ 80.66 ประเด็นที่เป็นจุดเด่นของวิธีปฏิบัติ

                  ในการเอื้อให้เกิดนวัตกรรมของเทศบาลนครเชียงรายคือ การเปิดโอกาสอย่างถ้วนหน้า
                  มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 คิดเป็นร้อยละ 86.66 กล่าวคือ บุคลากรในองค์กรสามารถนำเสนอ
                  โครงการหรือกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมต่อผู้บังคับบัญชาได้ แม้ไม่ใช่ฝ่ายแผนหรือหน่วยงานวิชาการ

                  ฯลฯ ส่วนประเด็นที่ผู้บริหารเทศบาลฯทำน้อย คือ การเปิดโอกาสให้โชคชะตา ค่าคะแนนเฉลี่ย
                  เท่ากับ  3.00 คิดเป็นร้อยละ 66.66  นั่นคือ ผู้บริหารส่งเสริมให้บุคลากรไปอบรมในเรื่องที่

                  ไม่เกี่ยวกับงานโดยตรง (เช่น ส่งนักวิเคราะห์ฯ ไปอบรมเรื่องอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการทำแผน)
                  เพื่อช่วยให้พวกเขามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์หรือมีมุมมองนอกกรอบ


                        2.  วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture)

                          การศึกษาวัฒนธรรมองค์กร (Organizational Culture) ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

                  วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม Functionalization ซึ่งประกอบด้วย วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับพิธีการ
            ส่วนที่ 2 กรณีศึกษา   ความรู้ ประสบการณ์ และความชำนาญพิเศษ (Specialty) วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม
                  และมาตรฐาน (Formality) เกี่ยวกับลำดับชั้นและการควบคุม (Hierarchy) และเกี่ยวกับการใช้


                  Communalization  การประเมินประกอบด้วย วัฒนธรรมการรักษาความสัมพันธ์ภายใน
                  องค์กร (Cohesion) วัฒนธรรมองค์กรที่มีอิสระและสร้างความสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น (Autonomy)

                  และ วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของ (Ownership)

                          ผลการจากการทั้งทางผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงานเทศบาลนครเชียงราย
                  พบว่า ผู้บริหารเทศบาล วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม Functionalization ผลการประเมินมีค่าเฉลี่ย

                  รวมเท่ากับ 3.86 ส่วน วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม Communalization  มีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ
                  2.59  ในส่วนเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงานเทศบาลนครเชียงราย วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม

                  Functionalization มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 2.70 ส่วน วัฒนธรรมองค์กรกลุ่ม





                      สถาบันพระปกเกล้า
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92