Page 85 - kpi21193
P. 85

เพื่อทำความเข้าใจความรู้สึก/มุมมอง/ความคิดเห็นของพวกเขา และการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ
                  หน่วยงานอื่น เทศบาลนครเชียงรายมักปรึกษาหารือกับหน่วยงานนั้นเพื่อทำความเข้าใจปัญหา
            “สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น
                  ร่วมกันสูงมาก รองลงมาคือ การพิจารณาข้อเท็จจริง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 คิดเป็นร้อยละ 93.3
                  หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ผู้บริหารมักพูดคุยกับประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อรับทราบมุมมอง/
                  ความคิดเห็น/ความรู้สึกที่มีต่อนโยบายและโครงการของเทศบาลนครเชียงราย ผ่านการลงพื้นที่

                  หรือช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก เว็บไซต์ โทรศัพท์ ฯลฯ และผู้บริหารมีการรับฟัง
                  ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะที่เสนอโดยผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสนอกสนใจ


                            ซึ่งในส่วนของผลการศึกษากับเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ เทศบาลนครเชียงราย
                  ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมหรือโครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่ามีค่าเฉลี่ย

                  รวมวิธีปฏิบัติในการระบุปัญหาขององค์กร เท่ากับ 3.37  คิดเป็นร้อยละ 79.00 ซึ่งมีประเด็น
                  ที่น่าสนใจ คือ ในด้านวิธีปฏิบัติในการระบุปัญหาขององค์กร มีประเด็นที่มีค่าสูงสุด 5 ประเด็น
                  ความเห็นอกเห็นใจของเพื่อนร่วมงาน การพิจารณาข้อเท็จจริง การได้มาซึ่งความคิดเห็นที่

                  ตรงไปตรงมา การคิดอย่างเป็นระบบ และการให้คุณค่ากับหลักฐาน การพิจารณาข้อเท็จจริง
                  มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.60 คิดเป็นร้อยละ 86.66 กล่าวคือ เมื่อมีปัญหาในการทำงาน

                  บุคลากรของเทศบาลนครเชียงรายมักเปิดอกพูดคุยกันเพื่อขอความช่วยเหลือจากเพื่อนร่วมงาน
                  รวมทั้งมักพูดคุยกับประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานขององค์กร
                  ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อทำความเข้าใจความรู้สึก/มุมมอง/ความคิดเห็นของพวกเขา ผู้บริหาร

                  มักรับฟังความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะที่เสนอโดยผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสนอกสนใจ รวมถึง
                  ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่น เทศบาลนครเชียงรายมักปรึกษาหารือกับหน่วยงาน

                  นั้นเพื่อทำความเข้าใจปัญหาร่วมกัน และมักวิเคราะห์ปัญหาในการทำงานอย่างเป็นระบบ
            ส่วนที่ 2 กรณีศึกษา   สิ่งแวดล้อม ฯลฯ) และน้อยที่สุด คือ ประเด็นการสืบหาสาเหตุของปัญหาอย่างไม่ลดละ
                  (เช่น SWOT analysis) โดยค้นหาสาเหตุของปัญหาอย่างรอบด้าน (เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม


                  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.40 คิดเป็นร้อยละ 13.33 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
                  บุคลากรในเทศบาลนครเชียงรายมักจะดำเนินการค้นหาต้นตอของปัญหาอย่างจริงจัง ก่อนที่จะ

                  เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว

                             1.2  วิธีปฏิบัติในการกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ศึกษาว่าองค์กรกำหนด

                  แนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีใด ผลการศึกษากับผู้บริหารเทศบาลนครเชียงราย
                  พบว่า ประเด็นวิธีปฏิบัติ ในการกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ
                  3.82 คิดเป็นร้อยละ 94.00 ในมิตินี้มีประเด็นที่เป็นจุดเด่นและน่าสนใจ คือ เรื่องสร้างสมมติฐาน

                  การปรับใช้ความรู้ใหม่ การปรับใช้ความรู้จากภายนอกพื้นที่ การพัฒนาความรู้ดั้งเดิม การทบทวน





                      สถาบันพระปกเกล้า
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90