Page 160 - kpi21193
P. 160

ไม่ว่าจะเป็น ความสามารถในการตัดสินใจเพื่อสร้างสิ่งที่ดี ความสามารถในการทำความเข้าใจ
                      สาระสำคัญของสถานการณ์และสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงอย่างลึกซึ้งและรอบด้าน ความสามารถ

                      ในการสร้างพื้นที่และความร่วมมือที่เอื้อให้ทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อสร้างองค์ความรู้
                      ใหม่ ความสามารถในการสื่อสารถึงสาระสำคัญของสถานการณ์และสิ่งต่าง ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
                      ความสามารถในการบริหารจัดการอำนาจเพื่อขับเคลื่อนให้ทุกคนสามารถทำงานร่วมกันได้ และ

                      ความสามารถในการสร้างความเป็นผู้นำรุ่นใหม่ที่มีปัญญาเชิงปฏิบัติ (องค์ความรู้ที่สามารถนำไป
                      ปฏิบัติได้จริง)


                      แผนภาพที่ 4 การเปรียบเทียบศักยภาพผู้นำในแต่ละมิติในทัศนะของประชาชน                     “สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น







































                      สมรรถนะองค์กรที่เป็นจุดแข็งของเทศบาลเมืองลำพูน                                         ส่วนที่ 2 กรณีศึกษา


                            การศึกษาสมรรถนะองค์กรของเทศบาลเมืองลำพูน ทั้ง 3 มิติ คือ วิถีปฏิบัติขององค์กร
                      (Organizational Practice) วัฒนธรรมองค์กร (Organizational Culture) และ ศักยภาพผู้นำ
                      (Leadership Capacity) พบว่า สมรรถนะองค์กรมิติที่เป็นจุดเด่น/จุดแข็งมากที่สุดคือ

                      ศักยภาพความเป็นผู้นำ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 ในทัศนะของกลุ่มผู้บริหาร ซึ่งไม่มีความแตกต่าง
                      กับทัศนะของกลุ่มประชาชน คือมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.54 ผู้นำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น





                                                                                      สถาบันพระปกเกล้า   1 1
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165